Sony HDR-HC1E Users guide [th]

2-636-470-61 (1)
กล้องบันทึกวิดีโอ HD ระบบดิจิตอล
คู่มือการใช้งาน
HDR-HC1E
เพลิดเพลินไปกับ
ภาพความคมชัดสูง
การเริ่มต้นใช้งาน
การบันทึกภาพ/
การดูภาพ
การใช้เมนู
การคัดลอก/การตัดต่อ
การใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
การแก้ปัญหา
ข้อมูลเพิ่มเติม
การอ้างอิงโดยเร็ว
8
10
22
38
62
72
80
99
© 2005 Sony Corporation
โปรดอ่านที่นี่ก่อน
ก่อนเริ่มใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอ โปรดอ่านคู่มือ การใช้งานเล่มนี้โดยละเอียดและเก็บไว้สำหรับ อ้างอิงต่อไป
คำเตือน
เพื่อป้องกันอันตรายจากเพลิงไหม้หรือไฟฟ้า ช๊อต ควรระมัดระวังไม่ให้กล้องถ่ายวิดีโอโดน ฝนหรือความชื้น
ข้อสังเกตในการใช้งาน
รายละเอียดเกี่ยวกับเทปที่สามารถ ใช้งานร่วมกับกล้องถ่ายวิดีโอ ของท่าน
ท่านสามารถใช้งานเทปมินิ DV ที่มีเครื่องหมาย
แต่ไม่สามารถใช้งานร่วมกับเทปมินิ DV
ที่มี Cassette Memory (หน้า 100)
รายละเอียดเกี่ยวกับชนิดของ Memory Stick ที่สามารถใช้ ร่วมกับกล้องถ่ายวิดีโอของท่าน
Memory Stickมี 2 ขนาด ท่านสามารถ
ใช้ได้เฉพาะ Memory Stick Duo ที่มีเครื่องหมาย หรือ
Memory Stick Duo (ขนาดที่ใช้สำหรับอุปกรณ์ชิ้นนี้)
(หน้า 102)
เมื่อใช้งาน Memory Stick Duo กับอุปกรณ์ที่สนับสนุนการใช้งาน
Memory Stick
ให้ใส่แผ่น Memory Stick Duo ลงในตัวแปลง Memory Stick Duo ที่จัดมาให้
ตัวแปลง Memory Stick Duo
ข้อสังเกตสำหรับการใช้งานกล้อง ถ่ายวิดีโอ
อย่าถือกล้องโดยจับที่ส่วนต่างๆ ต่อไปนี้ี
จอภาพ LCD ช่องมองภาพ
แฟลช ก้อนแบตเตอรี่
Memory Stick (ไม่สามารถใช้งานร่วมกับกล้องถ่ายวิดีโอนี้)
ท่านไม่สามารถใช้งานสื่อบันทึกอื่นๆ ที่ไม่ใช่
Memory Stick Duo” “Memory Stick PROและMemory Stick
PRO Duo สามารถใช้งานกับอุปกรณ์ที่
ใช้งานร่วมกับ Memory Stick PRO ได้เท่านั้น
2
กล้องถ่ายวิดีโอไม่ได้มีคุณสมบัติป้องกันฝุ่น,
หยดน้ำหรือละอองน้ำ โปรดดูรายละเอียดจาก หัวข้อ การดูแลรักษาและข้อควรระวัง (หน้า 106) ก่อนต่อกล้องถ่ายวิดีโอของท่านเข้ากับ
อุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่งทางสายวิดีโอ คอมโพเนนท์, สาย USB หรือสาย i.LINK โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าท่านได้ต่อสาย ในทิศทางที่ถูกต้อง หากท่านฝืนใช้แรงกับ ขั้วต่อในทิศทางที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้ เกิดความเสียหายกับขั้วต่อ หรืออาจเป็น สาเหตุทำให้กล้องถ่ายวิดีโอทำงาน ผิดปรกติได้
ข้อสังเกตสำหรับราย การเมนู, แผงจอภาพ LCD, ช่องมองภาพและเลนส์
รายการเมนูที่ปรากฏเป็นสีเทาไม่สามารถใช้ งานได้ภายใต้สภาวะการบันทึกหรือการเล่น ภาพในขณะนั้น จอภาพ LCD และช่องมองภาพผลิตด้วย
เทคโนโลยีชั้นสูงอันละเอียดอ่อนจึงทำให้มี ประสิทธิภาพในการแสดงความละเอียดของ ภาพมากกว่า 99.99% อย่างไรก็ตามอาจ ปรากฏจุดมืดและ/หรือจุดสว่างเล็กๆ (สีขาว, แดง, น้ำเงิน หรือเขียว) ปรากฏขึ้นอย่างต่อ เนื่องบนจอภาพ LCD และช่องมองภาพ จุดเหล่านี้เกิดขึ้นตามปกติในขั้นตอนของการ ผลิตและจะไม่มีผลใดๆ ต่อภาพที่บันทึก
จุดสีดำ
จุดสีขาว, แดง, น้ำเงินหรือเขียว
การปล่อยให้จอภาพ LCD, ช่องมองภาพ
หรือเลนส์โดนแสงแดดส่องโดยตรงเป็นเวลา นานอาจทำให้เกิดความผิดปรกติกับอุปกรณ์ ได้ ควรระมัดระวังเมื่อวางกล้องถ่ายวิดีโอใกล้ หน้าต่างหรือเมื่ออยู่กลางแจ้ง อย่าเล็งกล้องถ่ายแสงแดดโดยตรงเพราะ
อาจทำให้กล้องถ่ายวิดีโอทำงานผิดปรกติ ได้ ควรถ่ายภาพแสงอาทิตย์ในสภาพแสง น้อย เช่นในเวลาเย็นเท่านั้น
ข้อสังเกตสำหรับการบันทึก
ก่อนเริ่มต้นการบันทึก ควรทดสอบฟังก์ชั่นการ
บันทึกเพื่อให้แน่ใจว่าจะสามารถบันทึกภาพ และเสียงได้โดยไม่เกิดปัญหาใดๆ ไม่สามารถให้การชดเชยสำหรับภาพที่บันทึก
แม้ในกรณีที่การบันทึกหรือการเล่นภาพใช้ งานไม่ได้เนื่องจากความผิดปรกติของอุปกรณ์ อย่างเช่น กล้องถ่ายวิดีโอ ระบบของ TV สีมีความแตกต่างกันในแต่ละ
ประเทศ/พื้นที่ ในการรับชมภาพที่บันทึกผ่าน ทางจอ TV จะต้องใช้ TV ระบบ PAL รายการทีวี ฟิล์มภาพยนตร์ ม้วนวิดีโอเทป
และสื่อบันทึกชนิดอื่นอาจมีลิขสิทธิ์คุ้มครอง การบันทึกจากสื่อดังกล่าวโดยไม่ได้รับ อนุญาต อาจเป็นการละเมิดกฏหมายลิขสิทธิ์
การเล่นเทป HDV บนอุปกรณ์อื่น
ท่านไม่สามารถเล่นเทปที่บันทึกในรูปแบบ HDV บนอุปกรณ์ที่ไม่สนับสนุนรูปแบบ HDV
โดยในกรณีนี้จอภาพจะปรากฏเป็นสีฟ้า ให้ตรวจสอบเนื้อหาของม้วนเทปโดยลองเล่น เทปด้วยกล้องถ่ายวิดีโอของท่าน ก่อนนำไป เล่นด้วยอุปกรณ์ชนิดอื่น
ข้อสังเกตสำหรับคู่มือใช้งานฉบับนี้
ภาพจากจอภาพ LCD และช่องมองภาพที่
ปรากฏในคู่มือฉบับนี้เป็นภาพนิ่งที่ถ่ายด้วย กล้องถ่ายภาพดิจิตอล ซึ่งอาจปรากฏแตก ต่างออกไปจากที่ท่านเห็น การแสดงผลบนจอภาพสำหรับแต่ละภาษา
ให้รายละเอียดเกี่ยวกับกระบวนการใช้งาน ในกรณีที่จำเป็นท่านสามารถเปลี่ยนภาษาบน หน้าจอได้ก่อนการใช้งาน (หน้า 17)
ยังมีต่อ
<
3
โปรดอ่านที่นี่ก่อน (ยังมีต่อ)
เกี่ยวกับเลนส์ Carl Zeiss
กล้องถ่ายวิดีโอของท่านติดตั้งเลนส์ Carl Zeiss ซึ่ง ช่วยสร้างภาพให้มีคุณภาพสูง เลนส์ของกล้องถ่าย วิดีโอได้รับการพัฒนาร่วมกันระหว่าง Carl Zeiss ใน ประเทศเยอรมันและ Sony Corporation ซึ่งใช้ ระบบการวัด MTF สำหรับกล้องถ่ายวิดีโอและให้ คุณภาพเทียบเท่ากับเลนส์ Carl Zeiss เลนส์ของ กล้องถ่ายวิดีโอยังมีการเคลือบ T*-coated เพื่อ ช่วยตัดแสงสะท้อนที่ไม่ต้องการและเพื่อให้ได้สีที่ แม่นยำ
MTF = ย่อมาจาก Modulation Transfer Function ค่าของตัวเลขแสดงถึงปริมาณของ
แสงจากการเข้าถึงวัตถุตกกระทบสู่เลนส์
4
สารบัญ
โปรดอ่านที่นี่ก่อน ................................................................................. 2
หมายเหตุสำหรับไอคอนที่ใช้ในคู่มือการใช้งานฉบับนี้
: คุณสมบัติสำหรับรูปแบบ HDV เท่านั้น
: คุณสมบัติสำหรับรูปแบบ DV เท่านั้น
เพลิดเพลินไปกับภาพความคมชัดสูง
ทดลองใช้รูปแบบ HDV ใหม่! .................................................................. 8
ชมภาพวิดีโอที่บันทึกในรูปแบบ HDV! ...................................................... 9
การเริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนที่ 1: การตรวจสอบอุปกรณ์ที่จัดมาให้ ...........................................10
ขั้นตอนที่ 2: การชาร์จไฟก้อนแบตเตอรี่ ..................................................11
ขั้นตอนที่ 3: การเปิดเครื่องและการถือกล้องถ่ายวิดีโออย่างถูกวิธี .................14
ขั้นตอนที่ 4: การปรับจอภาพ LCD และช่องมองภาพ ..................................16
ขั้นตอนที่ 5: การใช้แผงจอภาพแบบสัมผัส ..............................................17
การเปลี่ยนการตั้งภาษา ..................................................................... 17
การตรวจสอบตัวแสดงบนจอภาพ (แนะนำดิสเพลย์) ................................ 17
ขั้นตอนที่ 6: การตั้งวันที่และเวลา ..........................................................18
ขั้นตอนที่ 7: การใส่เทปหรือ Memory Stick Duo .... ...............................19
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
การบันทึกภาพ ...................................................................................22
การดูภาพ .........................................................................................23
ฟังก์ชั่นสำหรับการบันทึกภาพ/การดูภาพ, อื่นๆ .........................................24
การบันทึกภาพ
การใช้ซูม การปรับความสว่างของภาพเอง (การวัดแสง) การบันทึกภาพในที่มืด (NightShot) การปรับให้วัตถุเด่นชัดขึ้น (TELE MACRO) การใช้สวิตช์ AUTO LOCK การปรับโฟกัสเอง การขยายและโฟกัสบนภาพ (โฟกัสแบบขยาย) การปรับแสงสำหรับวัตถุย้อนแสง การบันทึกภาพในโหมดกระจกสะท้อน การใช้ไฟแฟลช การใช้ขาตั้งกล้อง
การดูภาพ
การใช้ซูม PB การปรับระดับเสียงภาพยนตร์
ยังมีต่อ
<
5
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
การตรวจสอบแบตเตอรี่ที่เหลือ (ข้อมูลแบตเตอรี่) การปิดเสียงบีพยืนยันการทำงาน การตั้งค่าเริ่มต้น ชื่อส่วนประกอบและฟังก์ชั่นอื่น
ตัวแสดงที่ปรากฏขึ้นระหว่างการบันทึกภาพ/การดูภาพ ................................ 28
การค้นหาจุดเริ่มต้น .............................................................................31
การค้นหาซีนภาพสุดท้ายของภาพที่บันทึกล่าสุด (END SEARCH) ...................... 31
การตรวจสอบซีนภาพที่บันทึกล่าสุด (Rec review) .......................................... 31
รีโมทควบคุม .....................................................................................32
การค้นหาซีนภาพที่ต้องการทันที (การตั้งความจำเป็นศูนย์) ............................... 32
การค้นหาซีนภาพจากวันที่ที่บันทึก (ค้นหาด้วยวันที่) ........................................ 33
การต่อกับ TV เพื่อดูภาพ ......................................................................34
การใช้เมนู
การใช้รายการเมนู .............................................................. 38
รายการเมนู .......................................................................................40
เมนู เซ็ตกล้อง ..............................................................................42
การตั้งค่าเพื่อปรับกล้องถ่ายวิดีโอของท่านตามสภาพการบันทึกภาพ
(ปรับจุดวัดแสง/ไวท์บาลานซ์/STEADYSHOT, เป็นต้น)
เมนู เซ็ตเมมโมรี่ ...........................................................................47
การตั้งค่าสำหรับ Memory Stick Duo (ถ่ายต่อเนื่อง/คุณภาพ/ขนาดภาพ/ลบทั้งหมด/แฟ้มใหม่ เป็นต้น)
เมนู APPLI. ภาพ .........................................................................50
เอฟเฟ็คพิเศษบนภาพหรือฟังก์ชั่นเพิ่มเติมสำหรับการบันทึกภาพ/การดูภาพ (สไลด์โชว์/เอฟเฟ็คภาพ เป็นต้น)
เมนู แก้/เล่น ............................................................................... 53
การตั้งค่าสำหรับการตัดต่อภาพหรือการเล่นภาพในโหมดต่างๆ (เล่นสปีดต่างๆ/จบการค้นหา เป็นต้น)
เมนู เซ็ต STD ............................................................................. 54
การตั้งค่าระหว่างการบันทึกภาพลงเทปหรือการตั้งค่าพื้นฐานอื่นๆ (โหมดบันทึก/ มัลติซาวนด์/เซ็ต LCD/VF/เลือกจอแสดงผล เป็นต้น)
เมนู เวลา/LANGU. .......................................................................59
(ตั้งนาฬิกา/เวลาสากล/LANGUAGE)
การปรับแต่ง Personal Menu ... .............................................................60
การคัดลอก/การตัดต่อ
การบันทึกคัดลอกไปยังอุปกรณ์อื่น เช่น เครื่องเล่นวิดีโอ, เครื่องบันทึก DVD เป็นต้น
การบันทึกภาพจากเครื่องเล่นวิดีโอ ..........................................................65
6
.....62
การคัดลอกภาพจากเทปไปยัง Memory Stick Duo .................................67
การลบภาพที่บันทึกไว้จาก Memory Stick Duo .....................................67
การทำเครื่องหมายภาพที่บันทึกบน Memory Stick Duo ด้วยข้อมูลจำเพาะ
(การป้องกันภาพ/เครื่องหมายพิมพ์) ............................................68
การพิมพ์ภาพที่บันทึกไว้ (เครื่องพิมพ์ที่ใช้งานได้กับ PictBridge) ..................69
ช่องต่อสำหรับเชื่อมกับอุปกรณ์ภายนอก ................................................... 70
การใช้งานกับเครื่องคอมพิวเตอร์
การเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ .........................................................72
การคัดลอกภาพนิ่งลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ...............................................72
การคัดเลือกภาพยนตร์จากเทปลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ ...............................75
การสร้างแผ่น DVD (สั่งงานตรงไปยัง Click to DVD) ..............................77
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา .....................................................................................80
ตัวแสดงเตือนและข้อความเตือน ............................................................95
ข้อมูลเพิ่มเติม
การใช้กล้องถ่ายวิดีโอในต่างประเทศ ......................................................99
รูปแบบ HDV และการบันทึก/การดูภาพ .................................................100
รายละเอียดของแผ่น Memory Stick .................................................102
รายละเอียดของก้อนแบตเตอรี่ InfoLITHIUM ...................................... 104
รายละเอียดของ i.LINK ..................................................................... 105
การดูแลรักษาและข้อควรระวัง .............................................................106
ข้อมูลจำเพาะ .................................................................................. 109
การอ้างอิงโดยเร็ว
ส่วนประกอบและปุ่มควบคุม ................................................................ 112
ดัชนีคำศัพท์ .................................................................................... 115
7
เพลิดเพลินไปกับภาพความคมชัดสูง
ทดลองใช้รูปแบบ HDV ใหม่!
การถ่ายภาพในรูปแบบ HDV
ภาพคุณภาพสูง
รูปแบบ HDV มีความละเอียดตามแนวนอนมากเป็น 2 เท่าของ TV มาตรฐาน ทำให้มีจำนวน พิกเซลมากกว่าถึง 4 เท่า ซึ่งช่วยให้ภาพที่แสดงมีคุณภาพสูง ด้วยความสามารถในการรองรับ HDV ทำให้กล้องถ่ายวิดีโอของท่านพร้อมสำหรับถ่ายภาพที่ ชัดเจนและคมชัดสูงอย่างที่ท่านไม่เคยเห็นมาก่อน
รูปแบบ HDV คืออะไร?
HDV เป็นรูปแบบวิดีโอแบบใหม่สำหรับการถ่ายภาพและการเล่นภาพที่มีความคมชัดสูงด้วย ม้วนเทป DV มาตรฐานที่มีใช้อยู่ทั่วไป
กล้องถ่ายวิดีโอที่เป็นไปตามข้อกำหนด
HDV1080i นี้สามารถถ่ายภาพที่มีความละเอียด 1080 เส้นด้วยมาตรฐาน HDV บิตเรทของภาพ
ในระหว่างการบันทึกมีค่าประมาณ 25 Mbps
คำแนะนำในการใช้งานฉบับนี้เรียกรูปแบบ HDV1080i ว่ารูปแบบ HDV เว้นแต่ได้มีการระบุไว้เป็น
อย่างอื่น
ความละเอียด ใช้งาน 1080 เส้น
ทำไมต้องถ่ายภาพในรูปแบบ HDV?
การก้าวไปสู่วิดีโอแบบดิจิตอล อย่างส่วนอื่นๆ ของโลก ให้ท่านสามารถบันทึกภาพช่วงเวลา สำคัญแห่งชีวิตในรูปแบบ HDV และด้วยภาพคุณภาพสูงที่บันทึกไว้ ท่านจะสามารถสร้าง ความมีชีวิตชีวาให้กับภาพขึ้นมาใหม่ได้อีกครั้ง ฟังก์ชั่นแปลงลงของกล้องถ่ายวิดีโอทำหน้าที่แปลงภาพรูปแบบ HDV ให้เป็นภาพคุณภาพ ระดับ SD (ความคมชัดมาตรฐาน) เพื่อแสดงบน TV จอกว้างแบบเก่าและ TV ชนิดอัตราส่วน จอภาพ 4:3 ในกรณีที่ไม่สามารถจัดหาเครื่องรับ TV ความคมชัดสูงได้ ช่วยเพิ่มความสะดวก ในการใช้งานวิดีโอรูปแบบ HDV ยิ่งขึ้น
ตัวแปลงลงทำหน้าที่แปลงวิดีโอรูปแบบ HDV เป็น DV สำหรับการเล่นภาพหรือตัดต่อภาพ
เมื่อกล้องถ่ายวิดีโอของท่านต่ออยู่กับ TV หรือเครื่องเล่นวิดีโอที่ไม่รองรับข้อกำหนด HDV1080i และในกรณีนี้คุณภาพของภาพจะเป็นแบบ SD (ความคมชัดมาตรฐาน)
8
ชมภาพวิดีโอที่บันทึกในรูปแบบ HDV!
รับชมบน TV ความคมชัดสูง (หน้า 34)
ภาพที่บันทึกด้วยรูปแบบ HDV สามารถเล่นเป็นภาพ HD (ความคมชัดสูง) ได้บน TV ความ คมชัดสูง
โปรดดูรายละเอียด TV ที่สนับสนุนข้อกำหนด HDV1080i ที่หน้า 101
รับชมบน TV ชนิดอัตราส่วนจอภาพ 16:9 /4:3 (หน้า 34)
กล้องถ่ายวิดีโอของท่านสามารถแปลงภาพวิดีโอที่บันทึกในรูปแบบ HDV ลงให้เป็นรูปแบบ SD (มาตรฐาน) เพื่อแสดงบน TV ทั่วไป
คัดลอกภาพไปยังอุปกรณ์วิดีโออื่น (หน้า 62)
เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ HDV1080i
ใช้สาย i.LINK ซึ่งเป็นอุปกรณ์เสริมสำหรับคัดลอกภาพในคุณภาพระดับ HD (ความคมชัดสูง)
เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่ไม่รองรับ HDV1080i
ใช้กล้องถ่ายวิดีโอของท่านเพื่อแปลงวิดีโอรูปแบบ HDV ลงเป็นแบบ SD (ความคมชัดมาตรฐาน) เพื่อให้สามารถคัดลอกได้
เพลิดเพลินไปกับภาพความคมชัดสูง
เชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ (หน้า 72)
คัดลอกภาพนิ่งจาก Memory Stick Duo ลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ดูหน้า 72
คัดลอกภาพยนตร์จากม้วนเทปลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ท่านต้องทำการตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์ให้แตกต่างกันตามรูปแบบวิดีโอ HDV หรือ DV ที่ท่าน ต้องการคัดลอก โปรดดูรายละเอียดที่หน้า 75
9
ขั้นตอนที่ 1: การตรวจสอบอุปกรณ์ที่จัดมาให้
โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ต่อไปนี้มา พร้อมกับกล้องถ่ายวิดีโอของท่านครบถ้วน ตัวเลขที่อยู่ในวงเล็บคือจำนวนของอุปกรณ์ รายการนั้น
Memory Stick Duo 16MB (1) (หน้า 20, 102)
ตัวแปลง Memory Stick Duo (1) (หน้า 103)
อุปกรณ์แปลงไฟ AC (1) (หน้า 11)
สายไฟหลัก (1) (หน้า 11)
ฝาปิดเลนส์ (1)
รีโมทควบคุมแบบไร้สาย (1) (หน้า 32)
ติดตั้งแบตเตอรี่ลิเธียมแบบแผ่นกลมไว้แล้ว
สายต่อ A/V (1) (หน้า 34, 62)
สายสัญญาณวิดีโอคอมโพเนนท์ (หน้า 34, 35)
สาย USB (1) (หน้า 72)
สายคล้องไหล่ (1) (หน้า 113)
ก้อนแบตเตอรี่แบบชาร์จไฟได้ NP-FM50 (1) (หน้า 11, 104)
คู่มือการใช้งาน (คู่มือฉบับนี้) (1)
ต่อกับกล้องถ่ายวิดีโอของท่าน
เลนส์ฮู้ด (1) (หน้า 114)
ใช้เลนส์ฮู้ดสำหรับถ่ายภาพในสภาวะแสงจ้าหรือ ภายใต้แสงอาทิตย์
10
ขั้นตอนที่ 2: การชาร์จไฟก้อนแบตเตอรี่
ท่านสามารถชาร์จไฟก้อนแบตเตอรี่ InfoLITHIUM (รุ่น M) (หน้า 104) โดยต่อ ก้อนแบตเตอรี่เข้ากับกล้องถ่ายวิดีโอ
สวิตช์ POWER
ช่องต่อ DC IN
ปลั๊ก DC
ต่อเข้ากับเต้า จ่ายไฟบนผนัง
สายไฟหลัก
1 ติดตั้งก้อนแบตเตอรี่โดยเลื่อนเข้าไป
ตามทิศทางลูกศรจนกระทั่งมีเสียงคลิ้ก เข้าที่
อุปกรณ์แปลงไฟ AC
2 เลื่อนสวิตช์ POWER ขึ้นไปที่
OFF(CHG) (การตั้งค่าเริ่มต้น)
ไฟ CHG (ชาร์จ)
3 ต่ออุปกรณ์แปลงไฟ AC เข้ากับช่องต่อ
DC IN ของกล้องถ่ายวิดีโอ พร้อมกับ
ตรวจให้แน่ใจว่าได้หันเครื่องหมาย û บนปลั๊ก DC ขึ้นด้านบนแล้ว
การเริ่มต้นใช้งาน
เครื่องหมาย
เปิดฝาครอบช่องต่อ
DC IN
û หันขึ้น
ยังมีต่อ
<
11
ขั้นตอนที่ 2: การชาร์จไฟก้อนแบตเตอรี่ (ยังมีต่อ)
4 ต่อสายไฟหลักเข้ากับอุปกรณ์แปลงไฟ
AC และเต้าจ่ายไฟบนผนัง
ไฟ CHG (ชาร์จ) สว่างขึ้นพร้อมกับเริ่มต้น ชาร์จไฟ
5 ไฟ CHG (ชาร์จ) ดับลงเมื่อก้อน
แบตเตอรี่ถูกชาร์จจนเต็ม ให้ถอด อุปกรณ์แปลงไฟ AC ออกจากช่องต่อ
DC IN ของกล้องถ่ายวิดีโอและปลั๊ก DC
ถอดอุปกรณ์แปลงไฟ AC ออกจากช่องต่อ DC IN โดยจับที่กล้องถ่ายวิดีโอและปลั๊ก DC
การถอดก้อนแบตเตอรี่
เลื่อนสวิตช์ POWER ขึ้นไปที่ OFF (CHG) จากนั้นเลื่อนปุ่ม BATT (ปลดแบตเตอรี่) เพื่อ ถอดก้อนแบตเตอรี่ออก
ปุ่ม BATT (ปลดแบตเตอรี่)
การเก็บรักษาก้อนแบตเตอรี่
ควรใช้ก้อนแบตเตอรี่จนหมดพลังงานก่อนนำไป เก็บรักษาไว้เป็นเวลานาน (หน้า 104)
การใช้แหล่งจ่ายไฟภายนอก
ท่านสามารถใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอด้วยพลังไฟ จากเต้าจ่ายไฟบนผนังโดยเชื่อมต่อกล้องถ่าย วิดีโอแบบเดียวกับเมื่อทำการชาร์จไฟก้อน แบตเตอรี่ ก้อนแบตเตอรี่จะไม่เสียกำลังไฟเมื่อ ใช้งานในลักษณะนี้
เวลาในการชาร์จไฟ
จำนวนเวลาโดยประมาณ (นาที) เมื่อชาร์จไฟ ก้อนแบตเตอรี่เปล่าจนเต็ม
ก้อนแบตเตอรี่ เวลาในการชาร์จไฟ
NP-FM50 (จัดมาให้) 150
NP-QM71D 260
NP-QM91D 360
เวลาในการบันทึก
เวลาโดยประมาณ (นาที) เมื่อใช้ก้อน แบตเตอรี่ที่ชาร์จไฟแบบเต็ม
เมื่อบันทึกด้วยรูปแบบ HDV
ก้อนแบตเตอรี่
NP-FM50 (จัดมาให้้)
NP-QM71D 205
NP-QM91D 315
เวลาบันทึก อย่างต่อเนื่อง*
225 215
345 325
เมื่อบันทึกด้วยรูปแบบ DV
ก้อนแบตเตอรี่
NP-FM50 (จัดมาให้้)
NP-QM71D 225
NP-QM91D 345
ค่าบน: เมื่อเปิดไฟส่องหลัง LCD
*
ค่ากลาง: เมื่อปิดไฟส่องหลัง LCD ค่าล่าง: เวลาที่บันทึกเมื่อบันทึกโดยใช้ช่องมองภาพ ในขณะที่ปิดจอภาพ LCD
เวลาบันทึก อย่างต่อเนื่อง*
100
250 235
380 360
เวลาบันทึกไม่ ต่อเนื่อง*
80 90 85
90
95
40 50 45
110 120 115
170 190 175
เวลาบันทึกไม่ ต่อเนื่อง*
50 55 50
120 135 130
190 205 195
12
เวลาบันทึกไม่ต่อเนื่องเป็นจำนวนเวลาท่าน
ทำการบันทึก, เปิด/ปิด, เลื่อนสวิตช์ POWER เพื่อเปลี่ยนโหมดและซูมภาพซ้ำไปซ้ำมา
เวลาในการเล่น
จำนวนเวลาโดยประมาณ (นาที) เมื่อใช้ ก้อนแบตเตอรี่ที่ชาร์จไฟแบบเต็ม
ภาพรูปแบบ HDV
ก้อนแบตเตอรี่
เปิดแผงจอภาพ
LCD*
NP-FM50 (จัดมาให้้)
NP-QM71D 255 285
NP-QM91D 390 430
ภาพรูปแบบ DV
ก้อนแบตเตอรี่
เปิดแผงจอภาพ
LCD*
NP-FM50 (จัดมาให้้)
NP-QM71D 305 355
NP-QM91D 465 535
เมื่อเปิดไฟส่องหลัง LCD
*
รายละเอียดก้อนแบตเตอรี่
เลื่อนสวิตช์ POWER ขึ้นไปที่ OFF (CHG)
ก่อนทำการชาร์จไฟก้อนแบตเตอรี่ ไฟ CHG (ชาร์จ) จะกะพริบระหว่างการชาร์จไฟ
หรือข้อมูลแบตเตอรี่ (หน้า 27) อาจแสดงคลาด เคลื่อนได้ในกรณีต่อไปนี้
ใส่ก้อนแบตเตอรี่ไม่ถูกต้อง
ก้อนแบตเตอรี่เสีย
ก้อนแบตเตอรี่ไฟหมดสนิท (สำหรับข้อมูล
แบตเตอรี่เท่านั้น)
จะไม่มีกำลังไฟจ่ายออกจากแบตเตอรี่หากอุปกรณ์
แปลงไฟ AC ยังต่ออยู่กับช่องต่อ DC IN ของกล้อง ถ่ายวิดีโอหรือ Handycam Station ถึงแม้จะถอด สายไฟหลักออกจากเต้าจ่ายไฟบนผนังแล้วก็ตาม
ใช้ก้อนแบตเตอรี่ InfoLITHIUM (รุ่น M) ของ
Sony ที่จัดมาให้หรือเป็นอุปกรณ์เสริมเท่านั้น
ท่านไม่สามารถใช้งานก้อนแบตเตอรี่ NP-FM30 กับกล้องถ่ายวิดีโอของท่าน
กรณีที่ติดตั้งไฟวิดีโอซึ่งเป็นอุปกรณ์เสริม
ขอแนะนำให้ใช้ก้อนแบตเตอรี่รุ่น NP-QM71D หรือ NP-QM91D
ปิดแผงจอภาพ
LCD
105 115
ปิดแผงจอภาพ LCD
125 145
เกี่ยวกับเวลาในการชาร์จไฟ/ การบันทึกภาพ/การดูภาพ
ทำการจับเวลาเมื่อกล้องถ่ายวิดีโอมีอุณหภูมิ 25 °C
(ขอแนะนำ 10 - 30 °C)
เวลาในการบันทึกภาพและดูภาพจะสั้นลงเมื่อใช้งาน
กล้องถ่ายวิดีโอในที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ เวลาในการบันทึกภาพและดูภาพจะสั้นลง โดยขึ้นอยู่
กับสภาพแวดล้อมที่คุณใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอ
เกี่ยวกับอุปกรณ์แปลงไฟ AC
ต่ออุปกรณ์แปลงไฟ AC เข้ากับเต้าจ่ายไฟบนผนังที่
อยู่ใกล้ หากมีความผิดปรกติใดๆเกิดขึ้นให้รีบถอด ปลั๊กของอุปกรณ์แปลงไฟ AC ออกจากเต้าจ่ายไฟ ทันที
อย่าวางอุปกรณ์แปลงไฟ AC ไว้ในบริเวณแคบๆ
อย่างเช่นระหว่างกำแพงกับเฟอร์นิเจอร์
ควรป้องกันไม่ให้วัตถุที่เป็นโลหะสัมผัสกับส่วนปลั๊ก DC ของอุปกรณ์แปลงไฟ AC เพราะอาจเป็นสาเหตุ
ให้เกิดความผิดปรกติกับอุปกรณ์ได้
ข้อควรระวัง
แม้ว่าจะปิดเครื่องแล้วก็ตาม กล้องถ่ายวิดีโอยังมี
กำลังไฟจากแหล่งจ่ายไฟ AC (กระแสไฟหลัก) อยู่ภายในเครื่องตราบใดที่ยังเสียบปลั๊กของอุปกรณ์ แปลงไฟ AC อยู่กับเต้าจ่ายไฟ
การเริ่มต้นใช้งาน
13
ขั้นตอนที่ 3: การเปิดเครื่องและการถือกล้อง ถ่ายวิดีโออย่างถูกวิธี
ในการบันทึกหรือดูภาพ ให้เลื่อนสวิตช์ POWER อย่างต่อเนื่องไปเพื่อเปิดไฟสถานะ
ตามต้องการ หน้าจอ [ตั้งนาฬิกา] จะปรากฏขึ้นในการใช้งาน กล้องถ่ายวิดีโอครั้งแรก (หน้า 18)
สวิตช์
POWER
1 ถอดฝาปิดเลนส์ออก แล้วดึงสายของ
ฝาปิดเลนส์ลงให้แนบกับสายรัดมือ
2 เลื่อนสวิตช์ POWER อย่างต่อเนื่องไป
ตามทิศทางลูกศรเพื่อเปิดไฟสถานะ ตามต้องการ
ไฟจะสว่างขึ้น
CAMERA-TAPE: บันทึกภาพบนเทป CAMERA-MEMORY: บันทึกภาพบน
Memory Stick Duo
PLAY/EDIT: ดูภาพหรือตัดต่อภาพ
เมื่อเลื่อนสวิตช์ POWER จาก OFF (CHG)
ไปที่ CAMERA-TAPE หรือ CAMERA-MEMORY วันที่และเวลาปัจจุบันจะปรากฏขึ้นบนจอภาพ LCD เป็นเวลาประมาณ 5 วินาที
3 ถือกล้องถ่ายวิดีโออย่างถูกต้อง
4 จับกล้องถ่ายวิดีโอให้มั่นคงแล้วดึงสาย
รัดมือให้แน่น
หากสวิตช์ POWER อยู่ที่ตำแหน่ง OFF (CHG) ให้กดปุ่มสีเขียวไป พร้อมกับเลื่อนสวิตช์ลง
14
วิธีปิดเครื่อง
เลื่อนสวิตช์ POWER ขึ้นไปที่ OFF (CHG)
กล้องวิดีโอที่เพิ่งซื้อมาใหม่จะปิดเครื่องโดยอัตโนมัติ
หากท่านปล่อยให้กล้องถ่ายวิดีโอเปิดค้างไว้โดยไม่ ใช้งานใดๆ เกินกว่า 5 นาที ทั้งนี้เพื่อประหยัดพลัง งานของก้อนแบตเตอรี่ ([ปิดอัตโนมัติ], หน้า 59)
การเริ่มต้นใช้งาน
15
ขั้นตอนที่ 4: การปรับจอภาพ LCD และช่องมองภาพ
แผงจอภาพ LCD
เปิดแผงจอภาพ LCD ออก 90 องศาจากตัว กล้องถ่ายวิดีโอ (ʌ) แล้วจึงหมุนไปยัง ตำแหน่งที่ดีที่สุดสำหรับการบันทึกภาพหรือดู ภาพ (ʍ)
ʌ90 องศา
จากตัวกล้อง ถ่ายวิดีโอ
ʍ180 องศา
(สูงสุด)
ʍ90 องศา
(สูงสุด)
ระวังอย่ากดโดนปุ่มบนขอบจอภาพ LCD เมื่อท่าน
เปิดหรือปรับจอภาพ LCD
ถ้าท่านหมุนแผงจอภาพ LCD ไปทางด้านเลนส์ 180 องศาจากตำแหน่ง LCD โดยให้จอภาพ LCD หันออกด้านนอกได้ ซึ่งให้ความสะดวกยิ่งขึ้นสำหรับการดูภาพ
ในการปิดจอภาพ LCD ให้หมุนจอภาพ LCD ตามที่แสดงใน หันเข้าด้านใน
DISPLAY/BATT INFO
ʌ ท่านจะสามารถปิดแผงจอภาพ
ʌ แล้วปิดโดยให้ด้านจอภาพ LCD
การปิดไฟส่องหลัง LCD เพื่อยืดระยะ เวลาการใช้งานแบตเตอรี่
กด DISPLAY/BATT INFO ค้างไว้สองสาม วินาทีจนกระทั่ง ปรากฏขึ้น การตั้งค่าแบบนี้มีประโยชน์เมื่อท่านใช้งาน กล้องถ่ายวิดีโอในที่สว่างมากหรือเมื่อท่านต้อง การประหยัดพลังงานจากก้อนแบตเตอรี่ และจะ ไม่มีผลใดๆต่อภาพที่กำลังบันทึก เมื่อต้องการ เปิดไฟส่องหลัง LCD ให้กด DISPLAY/BATT INFO ค้างไว้สองสามวินาทีจนกระทั่ง หายไป
ดูหัวข้อ [ความจ้า LCD] (หน้า 56) สำหรับ
รายละเอียดการปรับความสว่างของจอ LCD
ช่องมองภาพ
ท่านสามารถดูภาพจากช่องมองภาพเมื่อปิด แผงจอภาพ LCD แบตเตอรี่จะใช้งานได้นาน กว่าเมื่อใช้งานแผงจอภาพ LCD
ท่านสามารถปรับความสว่างไฟส่องหลังของช่อง
มองภาพได้โดยเลือก [เซ็ต LCD/VF] - [ไฟส่องหลัง VF] (หน้า 56)
.
ยกช่องมองภาพขึ้น
ปุ่มปรับเลนส์ช่องมอง ภาพ
เลื่อนไปจนกว่าจะ
เห็นภาพชัดเจน
16
ขั้นตอนที่ 5: การใช้แผงจอภาพแบบสัมผัส
ท่านสามารถดูภาพที่บันทึกไว้ (หน้า 23) หรือเปลี่ยนแปลงการตั้งค่า (หน้า 38) โดยใช้แผงจอภาพแบบสัมผัส
วางมือลงบนด้านหลังของจอภาพ LCD เพื่อประคองกล้องแล้วสัมผัสปุ่มที่ปรากฏ บนหน้าจอ
สัมผัสปุ่มบนจอภาพ LCD
DISPLAY/BATT INFO
ปฏิบัติตามกระบวนการที่ได้อธิบายข้างต้น เมื่อท่าน
กดปุ่มบนขอบจอภาพ LCD
ระวังอย่ากดโดนปุ่มที่อยู่ใต้ขอบจอภาพ LCD เมื่อ ใช้งานจอภาพแบบสัมผัส
ยกเลิกการใช้งานตัวแสดงบนจอภาพ
กด DISPLAY/BATT INFO เพื่อเปลี่ยนไปมา ระหว่างการแสดงและไม่แสดงตัวแสดงบน จอภาพ (อย่างเช่น รหัสเวลา เป็นต้น)
การเปลี่ยนการตั้งภาษา
ท่านสามารถเปลี่ยนการแสดงข้อความบนจอ ภาพให้เป็นภาษาที่ต้องการ ให้เลือกภาษา สำหรับจอภาพใน [LANGUAGE] บนเมนู (เวลา/LANGU.) (หน้า 59)
การตรวจสอบตัวแสดงบนจอภาพ (แนะนำดิสเพลย์)
ท่านสามารถตรวจสอบความหมายของตัวแสดง แต่ละตัวที่ปรากฏอยู่บนจอภาพ LCD
1 สัมผัส
น.
-%.5
ตรวจ

สถานะ
PRGRAM AE
แนะนำ ดิสเพลย์
ชัตเตอร์ สปีด
ปรับ ระดับAE

2 สัมผัส [แนะนำดิสเพลย์]
เลือกตำแหน่งที่ ต้องการคำแนะนำ
$)30'5)$%
จบ
ตัวแสดงจะปรากฏแตกต่างกันออกไปตาม การตั้งค่า
3 สัมผัสบริเวณที่ประกอบด้วยตัวแสดงที่
ท่านต้องการตรวจสอบ
ความหมายของตัวแสดงในบริเวณดังกล่าว จะแสดงขึ้นบนจอภาพ หากไม่พบตัวแสดง ที่ท่านต้องการตรวจสอบ ให้สัมผัส / เพื่อสลับ เมื่อคุณสัมผัส ,จอภาพจะเปลี่ยนกลับ ไปสู่หน้าจอเลือกบริเวณ
แนะนำดิสเพลย์

โฟกัส : ปรับเอง โปรแกรม AE: สปอตไลต์ STEADYSHOT: ปิด
จบ
การเริ่มต้นใช้งาน
เมื่อเสร็จสิ้นการใช้งาน
สัมผัส [จบ]
17
ขั้นตอนที่ 6: การตั้งวันที่และเวลา
ให้ตั้งวันที่และเวลาเมื่อท่านใช้งานกล้องถ่าย วิดีโอเป็นครั้งแรก หากไม่ตั้งวันที่และเวลา หน้าจอ [ตั้งนาฬิกา] จะปรากฏขึ้นบนจอภาพ ทุกครั้งที่ท่านเปิดกล้องถ่ายวิดีโอขึ้นมาใช้งาน หรือเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งสวิตช์ POWER
หากท่านไม่ได้ใช้กล้องวิดีโอนานประมาณ 3 เดือน
แบตเตอรี่แผ่นกลมแบบชาร์จไฟได้ที่อยูภ่ายในจะ หมดกำลังไฟ ทำให้การตั้งค่าวันที่และเวลาอาจ สูญเสียไปจากหน่วยความจำ ในกรณีนี้ให้ชาร์จไฟ แบตเตอรี่แบบชาร์จไฟได้ดังกล่าว แล้วจึงตั้งค่าวันที่ และเวลาใหม่อีกครั้ง (หน้า 108)
สวิตช์ POWER
ข้ามไปขั้นตอนที่ 4 เมื่อท่านตั้งนาฬิกาเป็น ครั้งแรก
น.
{
[MENU]
nnnnn
1 สัมผัส
3 เลือก [ตั้งนาฬิกา] ด้วย /
แล้วสัมผัส
ตั้งนาฬิ กา
วันที่

4 ตั้งค่า [ป] (ปี) ด้วย /
แล้วสัมผัส
ท่านสามารถกำหนดค่าปีได้จนถึงปี .. 2079
ตั้งนาฬิกา
วันที่

5 ตั้งค่า [] (เดือน), [] (วัน),
ชั่วโมงและนาที, แล้วสัมผัส
นาฬิกาเริ่มเดิน
ปดว
ว 
nnnnn
 
nnnnn
/+
/+
เซ็ตกล้อง
โปรแกรม AE ปรับจุดวัดแสง ไวท์บาลานซ์
2 เลือกเมนู (เวลา/LANGU.) ด้วย
/ แล้วสัมผัส
nnnnn
nnnnnn
18
น.
เลือกจอแสดงผล
เลื่อนMenu
ปิดอัตโนมัติ
ตั้งนาฬิ กา
เวลาสากล
,!.'5!'%
โปรแกรม AE
/+
/+
ขั้นตอนที่ 7: การใส่เทปหรือ Memory Stick Duo
ม้วนเทป
ท่านสามารถใช้เฉพาะม้วนเทป mini DV เท่านั้น (หน้า 100)
เวลาที่บันทึกภาพได้จะแตกต่างกันออกไปตาม
โหมดบันทึก] (หน้า 54)
[
2 ใส่ม้วนเทปโดยหันด้านที่มีช่องหน้าต่าง
ขึ้น จากนั้นกด
1 เลื่อนและกดปุ่ม OPEN/EJECT
ไปตามทิศทางลูกศรเพื่อเปิดฝา
ฝา
ปุ่ม OPEN/EJECT
ช่องใส่เทปจะเลื่อนออกมาและเปิดขึ้นโดย อัตโนมัติ
กดตรงกลางด้าน
ช่องหน้าต่าง
ช่องใส่เทปจะเลื่อนกลับเข้าที่โดยอัตโนมัติ อย่าพยายามฝืนใส่ม้วนเทปลงในช่องใส่ เทปแรงเกินไปเพราะอาจทำให้การทำงาน ผิดปรกติได้
หลังของม้วนเทป เบาๆ
3 ปิดฝาช่องใส่เทป
การนำเทปออก
เปิดฝาตามขั้นตอนเดียวกับที่ได้อธิบายในขั้นที่ 1 จากนั้นดึงม้วนเทปออก
การเริ่มต้นใช้งาน
ยังมีต่อ
<
19
ขั้นตอนที่ 7: การใส่เทปหรือ “Memory Stick Duo” (ยังมีต่อ)
Memory Stick Duo
ท่านสามารถใช้งานได้เฉพาะแผ่น Memory Stick Duo ที่มีเครื่องหมาย
หรือ (หน้า 102)
จำนวนและเวลาของภาพที่สามารถบันทึกได้จะ
แตกต่างกันไปตามคุณภาพหรือขนาดของภาพที่ บันทึก โปรดศึกษารายละเอียดที่หน้า 47
ใส่แผ่น Memory Stick Duo ลงในช่องใส่แผ่น Memory Stick Duo ตามทิศทางที่ถูกต้องจนมีเสียง คลิ๊กเข้าที่
ไฟแสดงการทำงาน
หากพยายามใส่แผ่น Memory Stick Duo
เข้าไปในช่องใส่แผ่น Memory Stick Duo โดยผิดทิศทาง อาจก่อให้เกิดความเสียหาย กับแผ่น Memory Stick Duo, ช่องใส่แผ่น Memory Stick Duo หรือข้อมูลภาพภายในได้
การนำแผ่น Memory Stick Duo ออก
กดที่แผ่น Memory Stick Duo เบาๆ หนึ่งครั้ง
เมื่อไฟแสดงการทำงานสว่างหรือกะพริบอยู่
แสดงว่ากล้องถ่ายวิดีโอมีการอ่าน/บันทึกข้อมูล อย่าเขย่าหรือกระแทกถูกกล้องถ่ายวิดีโอ, ปิดเครื่อง, นำแผ่น Memory Stick Duo ออกหรือถอดก้อน แบตเตอรี่ออก มิฉะนั้นอาจเกิดความเสียหายกับ ข้อมูลภาพได้
โปรดระวังอย่าให้ Memory Stick Duo
เลื่อนขึ้นและหลุดออก ขณะใส่หรือถอดออกจาก กล้องถ่ายวิดีโอของท่าน
20
การเริ่มต้นใช้งาน
21
การบันทึกภาพ
ถอดฝาปิดเลนส์
PHOTO
สวิตช์ POWER
REC START/
Ƚ
STOP
REC START/STOP
ȼ
1 เลื่อนสวิตช์ POWER อย่างต่อเนื่องไปตามทิศทางลูกศรเพื่อเปิดไฟสถานะที่ต้องการ
เพื่อเลือกสื่อบันทึก
ภาพยนตร์บนเทป: ไฟ CAMERA-TAPE
จะสว่างขึ้น
ภาพนิ่งบน Memory Stick Duo: ไฟ CAMERA-MEMORY จะสว่างขึ้น *
ขนาดอัตราส่วนภาพถูกตั้งเป็นค่าเริ่มต้น คือ 4:3*
หากสวิตช์ POWER อยู่ที่ตำแหน่ง OFF (CHG) ให้กดปุ่มสีเขียว พร้อมกับกดสวิตช์ลง
2 เริ่มต้นบันทึกภาพ
ภาพเคลื่อนไหว
กด REC START/STOP ȼ (หรือ
Ƚ)
น.
บันทึก
[เตรียม]{[บันทึก]
เมื่อต้องการหยุดการบันทึกภาพเคลื่อนไหว ให้กด REC START/STOP อีกครั้ง
การตั้งค่าเริ่มต้นกำหนดให้บันทึกภาพในรูปแบบ
HDV (หน้า 54)
ท่านสามารถบันทึกภาพนิ่งลง Memory Stick Duo
ได้ขณะกำลังบันทึกภาพเคลื่อนไหวลงเทปหรือเมื่อ อยู่ในโหมดเตรียมพร้อมโดยการกดปุ่ม PHOTO ลง จนสุด ภาพนิ่งจะถูกจำกัดขนาดของภาพไว้ที่ [1440
× 810] ในรูปแบบ HDV, [1080 × 810] (4:3) หรือ [1440 × 810] (16:9) ในรูปแบบ DV
22
ภาพนิ่ง
กด PHOTO ค้างไว้เบาๆ เพื่อปรับโฟกัส (ɱ) แล้วกดปุ่มลงจนสุด (ɲ)
น.
บีพ
ท่านจะได้ยินเสียงชัตเตอร์ และการบันทึกภาพจะ เสร็จสิ้นหลังจาก
น.น.น.
กระพริบ{สว่าง
หายไป
การตรวจสอบภาพที่บันทึกล่าสุดบน
Memory Stick Duo
สัมผัส หากต้องการลบภาพ ให้สัมผัส
{ [ใช่] หากต้องการกลับสู่โหมด
เตรียมพร้อม ให้สัมผัส
ดูรายละเอียดขนาดภาพที่หน้า 47
เสียงชัตเตอร์
การดูภาพ
1 เลื่อนสวิตช์ POWER อย่างต่อเนื่องไปตามทิศทางลูกศร
เพื่อเปิดไฟสถานะ PLAY/EDIT
2 เริ่มต้นดูภาพ
ภาพเคลื่อนไหว
สัมผัส แล้วสัมผัส เพื่อ เริ่มต้นดูภาพ
"
ɱ
หยุด
ɲ
สลับกันระหว่างเล่น/หยุดเล่นชั่วคราวเมื่อ
สัมผัสปุ่มนี้ *
ɳ
กรอย้อนกลับ/กรอเดินหน้า
หยุดการดูภาพโดยอัตโนมัติเมื่อหยุดภาพ
*
ชั่วคราวนานเกินกว่า 3 นาที
$
#
ภาพนิ่ง
สัมผัส
ภาพที่บันทึกล่าสุดจะปรากฏขึ้น
ɱ
ดูภาพจากเทป
ɲ
ก่อนหน้านี้/ถัดไป
ɳ
แสดงหน้าจอดัชนี
Stick Duo ลงในกล้องหรือไม่มีภาพบันทึกอยู่
ภายใน
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
"# $
0-%.5
จะไม่ปรากฏขึ้นหากไม่ได้ใส่ Memory
การปรับระดับเสียง
เลื่อนปุ่ม EXPOSURE/VOL ขึ้นหรือลงเพื่อปรับ ระดับเสียง (หน้า 27)
การค้นหาซีนภาพระหว่างดูภาพ
สัมผัส / ค้างไว้ในขณะดูภาพ (ค้นหาภาพ) หรือสัมผัส / ระหว่างกรอเทปเดินหน้าหรือกรอย้อนกลับ (ค้นหาข้าม)
ท่านสามารถดูภาพได้ในโหมดต่างๆ
เล่นสปีดต่างๆ], หน้า 53)
([
การแสดงภาพจาก Memory Stick Duo ในหน้าจอดัชนี
สัมผัส จากนั้นสัมผัสภาพที่ท่านต้องการ แสดงในโหมดภาพเดี่ยว เมื่อต้องการดูภาพ จากโฟลเดอร์อื่น ให้สัมผัส { { [เล่นจากแฟ้ม] เลือกโฟลเดอร์ด้วย / แล้วสัมผัส (หน้า 49)
หน้าจอดัชนี
"
ɱ
ภาพ 6 ภาพก่อนหน้านี้/ถัดไป
ɲ
ภาพที่แสดงก่อนเปลี่ยนไปหน้าจอดัชนี
จบ
#
23
ฟังก์ชั่นสำหรับการบันทึกภาพ/การดูภาพ, อื่นๆ
เพื่อให้กล้องถ่ายวิดีโอสามารถปรับโฟกัสได้อย่าง
ชัดเจน กล้องถ่ายวิดีโอกับวัตถุต้องอยู่ห่างกันไม่ น้อยกว่าประมาณ 1 เซนติเมตร เมื่อถ่ายภาพมุมกว้าง หรือประมาณ 80 เซนติเมตร เมื่อถ่ายภาพขยาย
ท่านสามารถตั้ง [ดิจิตอลซูม] เมื่อต้องการซูมภาพที่
ระดับสูงกว่า 10 เท่า (หน้า 46) กล้องอาจไม่สามารถซูมภาพได้ทันตามวงแหวนซูม
หากท่านหมุนวงแหวนซูมด้วยความเร็วสูงเกินไป
การปรับความสว่างของภาพเอง
(การวัดแสง) ..........................Ȧȧ
ปุ่ม EXPOSURE/VOL
ปุ่ม EXPOSURE
ท่านสามารถปรับความสว่างของภาพเองได้ อย่างเช่น เมื่อบันทึกภาพในที่ร่มในวันที่อากาศ แจ่มใส ท่านสามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดเงา จากการย้อนแสงบนภาพคนที่อยู่ใกล้หน้าต่าง โดยกำหนดการวัดแสให้คงที่ที่ด้านผนังภายใน ห้อง ก่อนใช้งานท่านต้องตั้งสวิตช์ AUTO LOCK ไปที่ OFF ด้วย (หน้า 25)
การบันทึกภาพ
การใช้ซูม ..................... ȢȣȤȬ
เลื่อนปุ่มปรับกำลังซูม ȣ เบาๆ เพื่อซูมภาพ อย่างช้าๆ หรือเลื่อนออกไปเพื่อซูมภาพอย่าง รวดเร็ว
มุมมองที่กว้างขึ้น:
(ภาพมุมกว้าง)
ʌ กด EXPOSURE Ȧ ʍ
ปรับความสว่างโดยเลื่อนปุ่ม EXPOSURE/
VOL ȧ ขึ้นหรือลง
จะปรากฏขึ้น ให้เลื่อนปุ่มขึ้นเพื่อ
ให้ภาพดูสว่างขึ้นหรือเลื่อนลงเพื่อให้ภาพดู มืดลง
เมื่อต้องการกลับไปใช้โหมดอัตโนมัติ ให้กด EXPOSURE อีกครั้ง
การตั้งค่าต่างๆ ที่ท่านได้กำหนดไว้จะกลับไปสู่ค่า เริ่มต้น หากท่านตั้งสวิตช์ POWER ไปที่ OFF (CHG) นานเกินกว่า 12 ชั่วโมง
มุมมองใกล้: (ภาพขยาย)
ในการใช้วงแหวนซูม Ȣ ให้ตั้งสวิตช์ FOCUS/
ZOOM Ȥ ไปที่ ZOOM และหมุนปรับที่ความเร็ว
ตามต้องการ ( ท่านไม่สามารถเปลี่ยนความเร็วการซูมเมื่อใช้ปุ่มซูม
Ȭ บนขอบจอภาพ LCD
จะปรากฏขึ้น)
24
การบันทึกภาพในที่มืด (NightShot)
................................................ Ȫ
ตั้งสวิตช์ NIGHTSHOT Ȫ ไปที่ ON ( และ [NIGHTSHOT] จะปรากฏขึ้น)
หากต้องการบันทึกภาพให้สว่างขึ้นอีก ให้ใช้ฟังก์ชั่น Super NightShot (หน้า 45) หากต้องการ บันทึกภาพให้มีสีใกล้เคียงกับสีจริง ให้ใช้ฟังก์ชั่น Color Slow Shutter (หน้า 45)
ฟังก์ชั่น NightShot และ Super NightShot ใช้
ประโยชน์จากแสงอินฟราเรด ดังนั้นโปรดระวังอย่า สัมผัสช่องแสงอินฟราเรด ȫ ด้วยนิ้วของท่านหรือ วัตถุอื่น และต้องถอดเลนส์แปลง (อุปกรณ์เสริม) ออกก่อน
หากการปรับโฟกัสอัตโนมัติทำได้ยาก ให้ทำการ
ปรับโฟกัสเอง (หน้า 25) อย่าใช้ฟังก์ชั่นนี้ในที่สว่างเพราะอาจทำให้กล้อง
ถ่ายวิดีโอเกิดความผิดปรกติได้
การปรับให้วัตถุเด่นชัดขึ้น
(TELE MACRO) ....................... ȩ
กด TELE MACRO ȩ จากนั้น จะปรากฏ ขึ้น พร้อมกับซูมจะเลื่อนไปที่ปลายสุดด้าน T (ภาพขยาย) โดยอัตโนมัติเพื่อให้สามารถ บันทึกภาพวัตถุได้ที่ระยะใกล้ถึงประมาณ 48 เซนติเมตร ฟังก์ชั่นนี้มีประโยชน์สำหรับบันทึก ภาพวัตถุขนาดเล็ก อย่างเช่นดอกไม้หรือแมลง
หากต้องการยกเลิกการใช้งาน ให้กด TELE
MACRO อีกครั้ง หรือเลื่อนซูมไปด้านมุมกว้าง (ด้าน W)
เมื่อทำการบันทึกวัตถุที่อยู่ระยะไกล การปรับโฟกัส
อาจทำได้ยากหรือใช้เวลามากกว่าปกติ หากการปรับโฟกัสอัตโนมัติทำได้ยาก ให้ทำการ
ปรับโฟกัสเอง (หน้า 25)
การใช้สวิตช์ AUTO LOCK .......... ȭ
ท่านสามารถตั้งค่าต่อไปนี้เองได้เมื่อตั้งสวิตช์ AUTO LOCK ȭ ไปที่ OFF การตั้งค่าดังกล่าว
จะกลับไปสู่โหมดอัตโนมัติเมื่อตั้งสวิตช์ กลับเป็น ON
[ปรับจุดวัดแสง]
การปรับแสง
[โปรแกรม AE]
[ไวท์บาลานซ์]
[ชัตเตอร์สปีด]
การตั้งค่าต่างๆ ที่กำหนดเมื่อตั้งสวิตช์ AUTO LOCK
ไปที่ OFF จะถูกบันทึกเก็บไว้เมื่อตั้งสวิตช์เป็น ON และจะถูกกำหนดค่ากลับไปเช่นเดิมเมื่อตั้ง
สวิตช์ไปที่ OFF อีกครั้ง ให้ตั้งสวิตช์ AUTO LOCK ไปที่ ON เมื่อใช้งาน
ไฟแฟลชภายนอก (อุปกรณ์เสริม)
การปรับโฟกัสเอง ................... ȢȤ
ʌ ตั้งสวิตช์ FOCUS/ZOOM Ȥ ไปที่
MANUAL ( จะปรากฏขึ้น)
ʍ
หมุนวงแหวนโฟกัส Ȣ ไปเพื่อปรับโฟกัส
หากต้องการปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ ให้ตั้ง สวิตช์ FOCUS/ZOOM ไปที่ AUTO
ท่านสามารถใช้ประโยชน์จากฟังก์ชั่นนี้ได้
เมื่อต้องการเปลี่ยนวัตถุโฟกัสโดยตั้งใจ
จะเปลี่ยนไปเป็น
ไปได้ไกลเกินกว่านั้น จะเปลี่ยนไปเป็น เมื่อไม่สามารถปรับโฟกัสไปได้ใกล้มากกว่านั้น
การปรับโฟกัสวัตถุจะทำได้ง่ายขึ้น หากเลื่อนปุ่ม ปรับระดับซูม ȣ ไปที่ T (ภาพขยาย) เพื่อปรับ โฟกัสก่อน แล้วจึงเลื่อนไปทางด้าน W (มุมกว้าง) เพื่อปรับซูมสำหรับการบันทึก เมื่อท่านต้องการ บันทึกวัตถุที่ระยะใกล้ ให้เลื่อนปุ่มปรับระดับซูม ไปที่ W (ภาพมุมกว้าง) แล้วจึงปรับโฟกัส
เมื่อไม่สามารถปรับโฟกัส
การขยายและโฟกัสบนภาพ
(โฟกัสแบบขยาย) ..................
ʌ ตั้งสวิตช์ FOCUS/ZOOM Ȥ ไปที่
MANUAL เมื่ออยู่ในโหมดเตรียมพร้อม
ʍ
กด EXPANDED FOCUS Ȩ เพื่อขยาย
ภาพใหญ่ขึ้นเป็น 2 เท่า เมื่อปรับโฟกัส เสร็จแล้ว หน้าจอจะเปลี่ยนกลับเป็นการ แสดงภาพตามปกติโดยอัตโนมัติ
เมื่อต้องการยกเลิกการขยายโฟกัส ให้กด
EXPANDED FOCUS อีกครั้ง
กด [SET] บนจอภาพ LCD ของกล้องถ่ายวิดีโอ ระหว่างการขยายโฟกัสเพื่อตั้งค่าฟังก์ชั่นพีค กด [เปิด] เพื่อเน้นขอบวัตถุให้เด่นชัด ซึ่งจะช่วยให้ โฟกัสได้ง่ายขึ้น
เส้นพีคจะไม่ได้รับการบันทึกลงเทป
ȤȨ
การปรับแสงสำหรับวัตถุย้อนแสง
...............................................
เมื่อต้องการปรับแสงสำหรับวัตถุย้อนแสง ให้กด BACK LIGHT ȥ เพื่อแสดงหากต้องการ ยกเลิกฟังก์ชั่นไฟส่องหลัง ให้กด BACK LIGHT อีกครั้ง
การตั้งค่าต่างๆ ที่ท่านได้กำหนดไว้จะกลับไปสู่ค่า
เริ่มต้น หากท่านตั้งสวิตช์ POWER ไปที่ OFF (CHG) นานเกินกว่า 12 ชั่วโมง
ȥ
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
ยังมีต่อ
<
25
ฟังก์ชั่นสำหรับการบันทึกภาพ/การดูภาพ, อื่นๆ (ยังมีต่อ)
การใช้ไฟแฟลช ........................ Ȯ
กด (แฟลช) ซ้ำๆ เพื่อเลือกการตั้งค่า
ไม่มีตัวแสดงปรากฏ: ใช้/แฟลชโดยอัตโนมัติเมื่อ แสงในสภาพแวดล้อมไม่เพียงพอ
y
(บังคับใช้แฟลช): ใช้แฟลชทุกครั้งโดยไม่ขึ้น
กับความสว่างของสภาพแวดล้อม
y
(ไม่ใช้แฟลช): บันทึกโดยไม่ใช้แฟลช
ระยะห่างถึงวัตถุเมื่อใช้งานไฟแฟลชภายในควรอยู่
ระหว่าง 0.5 ถึง 2.5 เมตร
เช็ดฝุ่นออกจากผิวหน้าของไฟแฟลชก่อนใช้งาน เพราะประสิทธิภาพของไฟแฟลชอาจลดลงหากมี คราบสกปรกที่เกิดจากความร้อนหรือฝุ่นติดอยู่ที่ หลอดไฟ
ไฟชาร์จแฟลชจะกะพริบขณะกำลังชาร์จไฟและ หยุดกะพริบเมื่อชาร์จไฟแบตเตอรี่เต็ม
ท่านสามารถใช้ไฟแฟลชได้ในโหมด CAMERA­MEMORY เท่านั้น
การใช้ไฟแฟลชอาจเกิดผลไม่เต็มที่ หากใช้แฟลช ในที่สว่างมาก เช่น เมื่อถ่ายภาพวัตถุย้อนแสง
ท่านสามารถปรับความสว่างของไฟแฟลชได้โดยตั้ง [ระดับแฟลช] หรือลดแสงสีแดงในดวงตาได้โดยใช้ [ลดตาแดง], ใน [เซ็ตแฟลช] (หน้า 44)
การใช้ขาตั้งกล้อง ..................... ȸ
ต่อขาตั้งกล้อง (อุปกรณ์เสริม: สกรูต้องมี ความยาวน้อยกว่า 5.5 มม. เข้ากับช่องต่อ ขาตั้งกล้อง ȸ โดยใช้สกรูของขาตั้งกล้อง
การบันทึกภาพในโหมดกระจกสะท้อน
................................................
เปิดแผงจอภาพ LCD ȷ ออก 90 องศาจาก ตัวกล้องถ่ายวิดีโอ (ʌ) แล้วหมุน 180 องศา ไปยังด้านเลนส์ (
ภาพกระจกสะท้อนของวัตถุจะปรากฏบนจอภาพ
LCD แต่ภาพที่บันทึกจะมีลักษณะตามปกติ
ʍ)
26
ȷ
การดูภาพ
การใช้ซูม PB .........................ȣȬ
ท่านสามารถขยายภาพนิ่งใน Memory Stick Duo เป็น 1.5 ถึง 5 เท่าของขนาดตั้งต้น
อัตราขยายภาพสามารถปรับได้ด้วยปุ่มปรับ กำลังซูม ȣ หรือปุ่มซูม Ȭ บนขอบจอภาพ
LCD
ʌ แสดงภาพที่ท่านต้องขยาย ʍ
ขยายภาพโดยใช้ T (ภาพขยาย)
ʎ
สัมผัสจอภาพ ณ ตำแหน่งที่ต้องการแสดง
เป็นจุดศูนย์กลางของเฟรมที่กำลังแสดง
ʏ ปรับการขยายด้วย W (ภาพมุมกว้าง)/T
(ภาพขยาย)
สัมผัส [จบ] เมื่อต้องการยกเลิกการทำงาน
ท่านไม่สามารถเปลี่ยนความเร็วการซูมเมื่อใช้ปุ่มซูม
บนขอบจอภาพ LCD
การปรับระดับเสียงภาพยนตร์ ....... Ȳ
เลื่อนปุ่ม EXPOSURE/VOL Ȳ ขึ้นหรือลงเพื่อ ปรับระดับเสียง โดยเลื่อนปุ่มขึ้นเพื่อเพิ่มระดับ เสียงและเลื่อนปุ่มลงเพื่อลดระดับเสียง
ท่านสามารถปรับระดับเสียงได้อีกวิธี คือสัมผัส
(เซ็ต STD)
{ [ระดับเสียง] (หน้า 55)
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
การตรวจสอบแบตเตอรี่ที่เหลือ
(ข้อมูลแบตเตอรี่) ......................
ตั้งสวิตช์ POWER ขึ้นไปที่ OFF (CHG) แล้วกด DISPLAY/BATT INFO ȵ เวลาที่สามารถ
ทำการบันทึกได้โดยประมาณในรูปแบบ ที่กำหนดและข้อมูลแบตเตอรี่จะปรากฏขึ้น เป็นเวลาประมาณ 7 วินาที ท่านจะสามารถ ดูข้อมูลแบตเตอรี่ได้นานถึง 20 วินาที เมื่อกดปุ่ม DISPLAY/BATT INFO ในขณะ ที่ข้อมูลดังกล่าวปรากฏบนจอภาพ
แบตเตอรี่ที่เหลือ (โดยประมาณ)
ระดับการชาร์จแบตเตอรี่
ระยะเวลาที่บันทึกได้
จอแอลซีดี :
ช่องมองภาพ:
ระยะเวลาที่บันทึกได้ (โดยประมาณ)
น.

น.

ȵ
การปิดเสียงบีพยืนยันการทำงาน
................................................
ดู [เสียงบี๊บ] (หน้า 58) เพื่อตั้งเสียงบีพ
ȶ
การตั้งค่าเริ่มต้น ......................... ȴ
กดปุ่ม RESET ȴ เพื่อตั้งค่าเริ่มต้นรวมทั้งการ ตั้งค่าวันที่และเวลา (รายการเมนูที่กำหนดค่าไว้บน Personal Menu จะไม่ถูกตั้งค่าใหม่)
ชื่อส่วนประกอบและฟังก์ชั่นอื่น
ȯ ไมโครโฟนภายในแบบสเตอริโอ
เมื่อมีการเชื่อมต่อกับไมโครโฟนภาพนอก เสียงที่เข้ามาจากไมโครโฟนภายนอกจะ แทนที่เสียงที่มาจากช่องทางอื่นๆ ทั้งหมด
Ȱ ไฟ REC
ไฟ REC จะสว่างขึ้นระหว่างการบันทึกภาพ (หน้า 58)
ȱ ตัวจับสัญญาณรีโมท
เล็งรีโมทควบคุม (หน้า 32) ไปที่ตัวจับ สัญญาณรีโมทเพื่อควบคุมกล้องถ่าย วิดีโอของท่าน
ȳ ลำโพง
เสียงจะเปล่งออกมาจากลำโพง
โปรดศึกษาวิธีปรับระดับเสียงที่หน้า 23
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
27
ตัวแสดงที่ปรากฏขึ้นระหว่างการบันทึกภาพ/ การดูภาพ
การบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ในโหมด CAMERA-TAPE
น.
บันทึก

น.
การบันทึกภาพนิ่ง

น.
 RB
&).%


Ȣ
รูปแบบการบันทึก ( หรือ ) (54)
โหมดการบันทึก (SP หรือ LP) จะปรากฏ
ขึ้นด้วยเมื่อใช้รูปแบบ DV
ȣ
ระยะเวลาที่เหลือของแบตเตอรี่
(โดยประมาณ)
Ȥ
สถานะการบันทึก ([เตรียม] (เตรียมพร้อม)
หรือ [บันทึก] (บันทึกภาพ))
ȥ
รหัสเวลา (ชั่วโมง: นาที: วินาที:เฟรม)/
ตัวนับเทป (ชั่วโมง: นาที: วินาที)
Ȧ
ระยะเวลาที่บันทึกได้ของเทป
(โดยประมาณ) (58)
ȧ
ปุ่มสลับการแสดง END SEARCH/Rec
review (31)
Ȩ
ปุ่ม Personal Menu (38)
ȩ
โฟลเดอร์สำหรับบันทึก (49)
Ȫ
ขนาดภาพ (47)
ȫ
คุณภาพ ([FINE] หรือ [STD]) (47)
Ȭ
ตัวแสดง Memory Stick Duo และ
จำนวนภาพที่บันทึกได้ (โดยประมาณ)
ȭ
ปุ่มรีวิว (22)
รหัสข้อมูลระหว่างการดูภาพ
ข้อมูลวันที่/เวลาและการตั้งค่ากล้องถ่ายวิดีโอ จะได้รับการบันทึกโดยอัตโนมัติ ข้อมูลเหล่านี้ จะไม่แสดงระหว่างการบันทึกภาพ แต่ท่าน สามารถตรวจสอบได้โดย [รหัสข้อมูล] ระหว่างการแสดงภาพ (หน้า 58)
RT
28
( ) คือหมายเลขหน้าสำหรับอ้างอิง ตัวแสดงระหว่างการบันทึกภาพจะไม่ได้รับการบันทึก
การดูภาพเคลื่อนไหว
บนเทป
RE
น.
Ȯ
ตัวแสดงการเดินของเทป
ȯ
ปุ่มควบคุมวิดีโอ (23)
การแสดงภาพและเสียงจะหยุดไปชั่วขณะ
หากมีการสลับสัญญาณระหว่าง HDV กับ DV เมื่อเล่นเทปที่บันทึกด้วยทั้งแบบ HDV และ DV
ท่านไม่สามารถเล่นเทปที่บันทึกด้วยรูปแบบ HDV
บนกล้องถ่ายวิดีโอที่ใช้รูปแบบ DV หรือ mini-DV
น.
RG
การดูภาพนิ่ง
RH RI RK
น.
XEXG
Ȱ
ชื่อไฟล์ข้อมูล
ȱ
หมายเลขภาพ/จำนวนภาพทั้งหมดที่บันทึก
อยู่ในโฟลเดอร์แสดงภาพปัจจุยัน
Ȳ
โฟลเดอร์แสดงภาพ (49)
ȳ
ไอคอนโฟลเดอร์ก่อนหน้านี้/ถัดไป
ตัวแสดงต่อไปนี้ปรากฏขึ้นเมื่อแสดง
ภาพแรกหรือภาพสุดท้ายของโฟลเดอร์ ปัจจุบัน และเมื่อมีโฟลเดอร์หลายโฟลเดอร์ อยู่บน Memory Stick Duo
: สัมผัส เพื่อไปยังโฟลเดอร์ก่อนหน้านี้ : สัมผัส เพื่อไปยังโฟลเดอร์ถัดไป : สัมผัส / เพื่อไปยังโฟลเดอร์
ก่อนหน้านี้หรือโฟลเดอร์ถัดไป
ȴ
ปุ่มลบภาพ (67)
ȵ
ปุ่มเลือกการแสดงภาพจากเทป (23)
ȶ
ปุ่มเลือกภาพก่อนหน้านี้/ถัดไป (23)
ȷ
ปุ่มแสดงหน้าจอดัชนี (23)
ȸ
เครื่องหมายการป้องกันภาพ (68)
ȹ
เครื่องหมายการพิมพ์ (68)
เล่นภาพที่บันทึก
XBX
XT
RL
RM
การบันทึกภาพ/การดูภาพ
ยังมีต่อ <
29
ตัวแสดงที่ปรากฏขึ้นระหว่างการบันทึกภาพ/การดูภาพ (ยังมีต่อ)
ตัวแสดงเมื่อท่านทำการ เปลี่ยนแปลง
ท่านสามารถใช้ [แนะนำดิสเพลย์] (หน้า 17) เพื่อตรวจสอบฟังก์ชั่นของตัวแสดงแต่ละตัวที่ ปรากฏบนจอภาพ LCD
ด้านบนซ้าย ด้านบนขวา
น.
เตรียม
ด้านล่าง
ด้านบนซ้าย
ตัวแสดง ความหมาย
ƒƏ ƋƏ
รูปแบบการบันทึก (54)
ไมค์ EX.SUR (56) โหมดเสียง (55)*
บันทึกภาพนิ่งแบบต่อเนื่อง
(47)
โหมดการบันทึก (54)* บันทึกโดยการจับเวลา (46) เลือกจอไวด์ (55)*
บันทึกภาพนิ่งแบบเว้นช่วง เวลา (52)
แสงแฟลช (44) มิเตอร์ระดับการบันทึก (56)
ด้านบนขวา
ตัวแสดง ความหมาย
HDV เข้า/DV เข้า (65) HDV ออก/DV ออก
(34, 64) การเชื่อมต่อ i.LINK
(34, 64, 65)
การตั้งความจำเป็นศูนย์ (32) สไลด์โชว์ (51)
ปิดไฟส่องหลังLCD (16)
น.
ตรงกลาง
ตรงกลาง
ตัวแสดง ความหมาย
NightShot (24)
Super NightShot (45)
Color Slow Shutter (45) การเชื่อมต่อ PictBridge
(69)
å
ข้อควรระวัง (95)
ด้านล่าง
ตัวแสดง ความหมาย
ปรับระดับ AE (44) ปรับระดับ WB (44) เอฟเฟ็คภาพ (51) ดิจิตอลเอฟเฟ็ค (50)
©
การตั้งค่าที่ใช้ได้กับภาพที่บันทึกด้วยรูปแบบ
*
DV เท่านั้น
ปรับโฟกัสเอง (25) โปรแกรม AE (42)
ความคมชัด (43) ย้อนแสง (25)
ปรับสมดุลสีขาว (43)
ปิด SteadyShot (46) ลายทาง (45) ภาพขยาย (25)
ระดับสี (44)
วงแหวนซูม (24) ความเร็วชัตเตอร์ (43) ตัวแปลงเลนส์ (46)
30
Loading...
+ 90 hidden pages