Sony DCR-SR100E Users guide [th]

กล้องบันทึกวีดีโอระบบดิจิตอล
การเริ่มต้นใช้งาน
2-677-030-61 (1)
DCR-SR90E/SR100E
Printed in Thailand
© 2006 Sony Corporation
TH
22
คู่มือการใช้งานกล้อง
เพลิดเพลินกับ
Handycam
ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
Easy
Handycam
28
การบันทึกภาพ/
การรับชม
การใช้รายการตั้งค่า
การแก้ไขภาพ
การคัดลอกและการพิมพ์
การแก้ปัญหา
ข้อมูลเพิ่มเติม
อภิธานศัพท์, ดัชนีคำศัพท์
โปรดอ่านที่นี่ก่อน
สำหรับการเชื่อมต่อ กับเครื่องคอมพิวเตอร์ อ่าน “คู่มือโปรแกรม คอมพิวเตอร์”
สายไฟหลัก ...................... 14
สายต่อ A/V ..... 13, 40, 69, 71
สายสะพายบ่า ................... 34
สี LCD ............................. 60
เสียงบี๊บ ...........................62
เสียงบี๊บยืนยันกระบวนการจัด
การ .......................ดู เสียงบี๊บ
เสียงรอง .......................... 59
เสียงหลัก .........................59
แสง/ไฟสลัว ..................... 50
แสงไฟ ACCESS ...............28
แสงภาพกลางคืน (NightShot
Light) ............................. 53
แสดงผล ..........................61
แสดงผล/ออกจอ ............... 62
แหล่งจ่ายไฟ ....................90
โหมดบันทึก ............... 59, 99
โหมดบันทึก ..................... 59
โหมดกระจกสะท้อน ...........34
โหมดสาธิต ......................57
ออโต้ชัตเตอร์ ...................52
อัตราส่วนภาพ ................... 21
อุปกรณ์ที่จัดมาให้ .............. 13
เอฟเฟ็กภาพ ............... 56, 84
ไอคอน ...........ดู ดัชนีแสดงผล
ฮาร์ดดิสก์ ........................10
2
โปรดอ่านที่นี่ก่อน
ก่อนเริ่มใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอ โปรดอ่าน คู่มือการใช้งานเล่มนี้โดยละเอียดและเก็บไว้ สำหรับอ้างอิงต่อไป
คำเตือน
เพื่อลดอันตรายจากไฟไหมหรือไฟฟาดูด อยาใหตัวอุปกรณเปยกฝนหรือถูกความชื้น
ข้อควรระวัง
ใชกอนแบตเตอรี่ชนิดที่กําหนดไวเทานั้น มิฉะนั้นอาจทําใหเกิดไฟไหมหรือเปนสา เหตุของการบาดเจ็บได
ข้อสังเกตในการใช้งาน
กล้องถ่ายวิดีโอของท่านมาพร้อมกับ คู่มือใช้งาน 2 ฉบับ
– คู่มือการใช้งานกล้อง (คู่มือฉบับนี้) – คู่มือโปรแกรมคอมพิวเตอร์
เมื่อใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอ
อย่าถือกล้องถ่ายวิดีโอที่ส่วนต่างๆ ต่อไปนี้ของกล้อง
ช่องมองภาพ จอภาพ LCD
แบตเตอรี่
• กล้องถ่ายวิดีโอไม่มีคุณสมบัติในการ ป้องกันฝุ่น, ละอองน้ำหรือหยดน้ำ โปรดดู รายละเอียดที่หัวข้อ “การดูแลรักษาและ ข้อควรระวัง” (หน้า 94)
• เพื่อหลีกเลี่ยงการเสียหายของฮาร์ดดิสก์ และการสูญหายของข้อมูลที่บันทึกไว้ ห้ามทำสิ่งดังต่อไปนี้ ในขณะที่สัญญาณ ไฟของสวิทช์ POWER (หน้า 17) หรือ สัญญาณไฟของ ACCESS (หน้า 28) ยัง เปิดอยู่
ถอดแบตเตอรี่หรือเครื่องแปลงไฟ AC
จากกล้องวีดีโอ
ทำให้กล้องวีดีโอได้รับการกระทบ
กระเทือนจากการสั่นสะเทือน
ก่อนเชื่อมต่อกล้องถ่ายวิดีโอเข้ากับอุปกรณ์ อื่นด้วยสาย USB หรืออื่นๆ โปรดตรวจสอบ ให้แน่ใจว่าท่านได้เสียบขั้วต่อในทิศทางที่ ถูกต้อง อย่าพยายามฝืนใช้แรงกับขั้วต่อ เพราะอาจทำให้ขั้วต่อเสียหายหรือทำให้ กล้องถ่ายวิดีโอทำงานผิดปรกติได้
ข้อสังเกตสำหรับรายการตั้งค่า, จอภาพ LCD, ช่องมองภาพและเลนส์
• รายการเมนูที่ปรากฏเป็นสีเทาไม่สามารถ ใช้งานได้ภายใต้สภาวะการบันทึกหรือการ เล่นภาพในขณะนั้น
3
• จอภาพ LCD และช่องมองภาพผลิตด้วย เทคโนโลยีชั้นสูงอันละเอียดอ่อนและมี ประสิทธิภาพในการแสดงความละเอียด ของภาพมากกว่า 99.99% อย่างไรก็ตาม อาจปรากฏจุดมืดและ/หรือจุดสว่างเล็กๆ (สีขาว, แดง, น้ำเงิน หรือเขียว) ปรากฏขึ้น อย่างต่อเนื่องบนจอภาพ LCD และช่องมอง ภาพ ซึ่งจุดเหล่านี้เกิดขึ้นตามปกติใน ขั้นตอนของการผลิต
จุดสีดำ
จุดสีขาว, แดง, น้ำเงินหรือเขียว
• การปล่อยให้จอภาพ LCD, ช่องมองภาพ หรือเลนส์โดนแสงแดดส่องโดยตรงเป็น เวลานานอาจทำให้เกิดความผิดปรกติกับ อุปกรณ์ได้ ควรระมัดระวังเมื่อวางกล้องถ่าย วิดีโอใกล้หน้าต่างหรือเมื่ออยู่กลางแจ้ง
• อย่าเล็งกล้องถ่ายแสงแดดโดยตรงเพราะ อาจทำให้กล้องถ่ายวิดีโอทำงานผิดปรกติ ได้ ควรถ่ายภาพแสงอาทิตย์ในสภาพแสง น้อย เช่นในเวลาเย็นเท่านั้น
ข้อสังเกตสำหรับการบันทึก
• ก่อนเริ่มต้นการบันทึก ควรทดสอบฟังก์ชั่น การบันทึกเพื่อให้แน่ใจว่าจะสามารถบันทึก ภาพและเสียงได้โดยไม่เกิดปัญหาใดๆ
• ไม่สามารถให้การชดเชยสำหรับภาพที่ บันทึก แม้ในกรณีที่การบันทึกหรือการเล่น ภาพใช้งานไม่ได้เนื่องจากความผิดปรกติ ของอุปกรณ์
• ระบบของทีวีสีมีความแตกต่างกันในแต่ละ ประเทศ/พื้นที่ ในการรับชมภาพที่บันทึก ผ่านทางจอ TV จะต้องใช้ TV ระบบ PAL เท่านั้น
• รายการ TV ฟิล์มภาพยนตร์ ม้วนวิดีโอเทป และสื่อบันทึกอื่นๆ อาจมีลิขสิทธิ์คุ้มครอง การบันทึกจากสื่อดังกล่าวโดยไม่ได้รับ อนุญาต อาจเป็นการละเมิดกฏหมาย ลิขสิทธิ์ ท่านไม่สามารถบันทึกซอฟต์แวร์ ลิขสิทธิ์บนกล้องถ่ายวิดีโอของท่าน
ภาพที่สามารถรับชมได้
• ท่านไม่สามารถรับชมภาพวีดีโอและ ภาพนิ่งอื่นๆที่ไม่ได้ผ่านการบันทึกจาก กล้องวีดีโอของท่าน อีกทั้งท่านยังไม่ สามารถชมภาพที่บันทึกจาก DCR­SR100E ชนิดอื่นๆ ได้
ข้อสังเกตสำหรับคู่มือใช้งานฉบับนี้
• ภาพจากจอภาพ LCD และช่องมองภาพที่ ปรากฏในคู่มือใช้งานฉบับนี้เป็นภาพนิ่งที่ ถ่ายด้วยกล้องถ่ายภาพดิจิตอล ซึ่งอาจ ปรากฏแตกต่างออกไปจากที่ท่านเห็น
• รูปแบบและรายละเอียดของกล้อง วีดีโอ ตลอดจนอุปกรณ์เสริมอื่นๆ อาจมี การเปลี่ยนแปลง โดยไม่มีการแจ้งให้ทราบ
• การแสดงจอภาพในแต่ละภาษามีไว้เพื่อ การอธิบายขั้นตอนการใช้งาน หากมีความ จำเป็น กรุณาเปลี่ยนภาษาก่อนการใช้งาน กล้องวีดีโอ (หน้า 62)
ต่อ ,
4
โปรดอ่านที่นี่ก่อน (ต่อ)
เกี่ยวกับเลนส์ Carl Zeiss
กล้องถ่ายวิดีโอของท่านติดตั้งเลนส์ Carl Zeiss ที่ได้รับการพัฒนาร่วมกันระหว่าง Carl Zeiss ในประเทศเยอรมันและ Sony Corporation เพื่อภาพที่ดีเยี่ยม พร้อมทั้ง ประยุกต์ใช้ระบบการวัด MTF* สำหรับ กล้องถ่ายวิดีโอและให้คุณภาพตามปกติ ของเลนส์ Carl Zeiss นอกจากนั้นเลนส์ของกล้องถ่ายวิดีโอของ ท่านยังได้รับการเคลือบ T - coated เพื่อ ขจัดแสงสะท้อนที่ไม่ต้องการและสร้างสีสัน ที่เหมือนจริง
* MTF ย่อมาจาก Modulation Transfer Function
หรือฟังก์ชันการถ่ายโอนแบบมอดูเลชั่น ค่าของ ตัวเลขแสดงถึงปริมาณของแสงจากวัตถุที่ต้อง การถ่ายที่ตกกระทบสู่เลนส์
5
ข้อควรระวังในการใช้งาน Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
บันทึกข้อมูลภาพทั้งหมดของท่าน
ในกรณีที่ข้อมูลภาพของท่านเกิดความเสียหาย ให้ บันทึกข้อมูลภาพทั้งหมดลงใน DVD ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ของคุณ (ดู “คู่มือโปรแกรม คอมพิวเตอร์”) นอกจากนี้ ท่านยังสามารถบันทึก ข้อมูลภาพผ่านอุปกรณ์ VCR/DVD ได้ (หน้า 69)
แนะนำให้ท่านบันทึกข้อมูลภาพเป็นครั้งคราว
หลังจากการบันทึกภาพ
กรุณาอย่าทำให้เกิดการกระทบ กระเทือนหรือการสั่นสะเทือนกับ กล้องวีดีโอ
ฮาร์ดดิสก์ของกล้องวีดีโออาจไม่สามารถบันทึก
ภาพหรือเล่นภาพได้
อย่าทำให้กล้องวีดีโอเกิดการกระทบกระเทือน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในขณะบันทึกภาพหรือรับชม ภาพ และภายหลังการบันทึกข้อมูลภาพอย่า ทำให้กล้องวีดีโอได้รับการกระทบกระเทือนหรือ เกิดการสั่นสะเทือนในขณะที่แสงไฟของ ACCESS ยังสว่างอยู่
ในขณะที่ใช้สายสะพาย (ไม่รวมอยู่ในอุปกรณ์
กล้องวีดีโอที่จัดให้) อย่าทำให้กล้องวีดีโอเกิด การกระแทกกับวัตถุอื่นๆ
เกี่ยวกับเครื่องตรวจจับการตกหล่น
กล้องวีดีโอมีฟังก์ชั่นตรวจจับการตกหล่น (หน้า
58) เพื่อป้องกันฮาร์ดดิสก์ภายในจากการ กระทบกระเทือนอันเกิดการการตกหล่น เมื่อเกิด การตกหล่นหรืออยู่ภายใต้สภาวะไร้น้ำหนัก การ ปิดเสียงเพื่อป้องกันตัวกล้องวีดีโออาจถูกบันทึก ไว้ หากตัวจับการสั่นจับการตกอย่างซ้ำๆ กัน การ บันทึกภาพและการเล่นภาพอาจหยุดทำงานได้
ข้อควรระวังเกี่ยวกับแบตเตอรี่และ เครื่องแปลงไฟ AC
ในขณะที่สัญญาณไฟ ACCESS ยังสว่างอยู่ พึง
ระวังสิ่งดังต่อไปนี้ซึ่งอาจก่อให้เกิดการผิดพลาด ในการทำงานของกล้องวีดีโอ
– ถอดแบตเตอรี่ – ถอดเครื่องแปลงไฟ (AC ในระหว่างที่กำลัง
ชาร์จเครื่องแปลงไฟ AC อยู่)
อย่าลืมถอดแบตเตอรี่หรือเครื่องแปลงไฟ AC ภาย หลังจากปิดปุ่ม POWER
ข้อควรระวังเกี่ยวกับอุณหภูมิในขณะ ใช้งาน
เมื่ออุณหภูมิของกล้องวีดีโอเพิ่มสูงขึ้นหรือลดต่ำ
ลงมาก ท่านอาจจะไม่สามารถบันทึกภาพหรือ เล่นภาพจากกล้องวีดีโอซึ่งทำการป้องกัน ตัวกล้องอยู่ ในกรณีดังกล่าวจะมีข้อความปรากฏ ขึ้นบนจอภาพ LCD (หน้า 87)
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้กล้อง วีดีโอบนพื้นที่สูง
ท่านไม่สามารถใช้กล้องวีดีโอในบริเวณที่มีความ
กดอากาศต่ำ ณ ความสูง 3,000 เมตรได้
ข้อควรระวังเกี่ยวกับการลบ/การถ่าย ข้อมูลภาพ
หากท่านใช้งาน [ฟอร์แมต HDD] (หน้า 57)
หรือฟอร์แมตกล้องวีดีโอ ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ อาจไม่ได้ถูกลบออกทั้งหมด เมื่อมีการ เปลี่ยนมือเจ้าของกล้องวีดีโอ ควรใช้งานฟังก์ชั่น [ลบข้อมูล HDD] (หน้า 58) เพื่อทำให้ยากต่อ การกู้ข้อมูลคืนมา นอกจากนี้ เมื่อท่านจะทิ้ง กล้องวีดีโอ ท่านควรทำลายตัวกล้องเพื่อป้องกัน การกู้ข้อมูลในฮาร์ดดิสก์ของกล้องวีดีโอด้วย
หากท่านไม่สามารถบันทึกภาพ/เล่น ภาพให้ฟอร์แมต HDD
หากท่านทำการ บันทึกภาพ/ลบภาพ ซ้ำๆ เป็น
ระยะเวลานาน การแตกของภาพจะเกิดขึ้นและ จะไม่สามารถเก็บ/บันทึกภาพได้ ในกรณี ดังกล่าวให้บันทึกภาพเพื่อทำการ [ฟอร์แมต HDD] (หน้า 57) การแตกของภาพ 1 ดูอภิธานศัพท์ (หน้า 99)
6
สารบัญ
โปรดอ่านที่นี่ก่อน ................................................................................. 2
ข้อควรระวังในการใช้งาน Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ ........................... 5
เพลิดเพลินกับ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
ท่านสามารถใช้ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ ทำอะไรได้บ้าง .................10
การใช้งาน Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ ...........................................12
การเริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนที่ 1: ตรวจสอบอุปกรณ์ที่จัดมาให้ .................................................13
ขั้นตอนที่ 2: ชาร์จก้อนแบตเตอรี่ ............................................................14
ขั้นตอนที่ 3: เปิดเครื่องและถือกล้องถ่ายวิดีโอ ...........................................17
ขั้นตอนที่ 4: ปรับจอภาพ LCD และช่องมองภาพ ........................................18
ขั้นตอนที่ 5: การใช้จอภาพแบบสัมผัส .....................................................19
ขั้นตอนที่ 6: ตั้งวันที่และเวลา ................................................................20
ขั้นตอนที่ 7: เลือกอัตราส่วนภาพ (16:9 หรือ 4:3) ของภาพที่บันทึก ..............21
Easy Handycam – ใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอด้วยการตั้ง ค่าแบบอัตโนมัติ
การใช้งาน Easy Handycam ................................................................22
บันทึกภาพได้อย่างง่ายดาย ...................................................................24
รับชมภาพได้อย่างง่ายดาย ....................................................................26
การบันทึกภาพ/การรับชม
การบันทึก ..........................................................................................28
การรับชม ...........................................................................................29
การค้นหาภาพที่ต้องการจากวันที่บันทึก (ดัชนีวันที่) .....................................30
ฟังก์ชั่นสำหรับการบันทึก/การรับชม, อื่นๆ .................................................32
การบันทึก
การใช้ซูม การใช้ไฟแฟลช การบันทึกในที่มืด (NightShot) การปรับแสงสำหรับภาพย้อนแสง (BACK LIGHT)
7
ต่อ ,
การบันทึกเสียงที่สมจริงมากขึ้น (การบันทึกแบบ 5.1ch surround) การปรับโฟกัสวัตถุที่อยู่นอกจุดศูนย์กลาง การแก้ไขการปรับแสงของวัตถุที่กำหนด การเพิ่มเอฟเฟ็กพิเศษ การบันทึกในโหมดกระจกสะท้อน การใช้ขาตั้งกล้อง การติดตั้งสายคล้องไหล่
การรับชม
การรับชมภาพตามลำดับ (Slide show) การใช้ซูมขณะเล่นภาพ
การบันทึก/การรับชม
การตรวจสอบแบตเตอรี่ที่เหลือ การตรวจสอบพื้นที่ว่างที่มีอยู่ของฮาร์ดดิสก์ การปิดเสียงบี๊บยืนยันการทำงาน การเริ่มต้นตั้งค่าใหม่ (รีเซ็ต) ชื่อส่วนประกอบและฟังก์ชั่นอื่น
การตรวจสอบ/การลบซีนภาพล่าสุด (ตรวจทาน/ตรวจทานก่อนลบ) ................36
ตัวแสดงที่ปรากฏระหว่างการบันทึก/การรับชม ...........................................37
รีโมทควบคุม ......................................................................................39
การรับชมภาพบน TV ............................................................................40
การบันทึกภาพ ....................................................................................42
การลบภาพ ........................................................................................43
การใช้รายการตั้งค่า
การใช้รายการตั้งค่า .............................................................................46
รายการตั้งค่า ......................................................................................48
เซ็ตกล้อง ......................................................................................50
การตั้งค่าเพื่อปรับกล้องถ่ายวิดีโอของท่านตามสภาวะการบันทึกภาพ (จัดแสง/ไวท์บาลานซ์/STEADYSHOT, อื่นๆ)
เซ็ตภาพนิ่ง ...................................................................................54
การตั้งค่าสำหรับภาพนิ่ง
(ถ่ายต่อเนื่อง/คุณภาพ/ขนาดภาพ, อื่นๆ)
APPLI.ภาพ .................................................................................55
เอฟเฟ็คพิเศษสำหรับภาพหรือฟังก์ชั่นเพิ่มเติมสำหรับการบันทึก/รับชมภาพ (เอฟเฟ็คภาพ/ดิจิตอลเอฟเฟ็ค, อื่นๆ)
เซ็ต HDD ....................................................................................57
การปรับตั้งสำหรับฮาร์ดดิสก์ (เช่น ฟอร์แมต HDD/ ข้อมูล HDD ฯลฯ)
เซ็ต STD .....................................................................................59
การปรับตั้งในขณะกำลังบันทึกหรือการปรับตั้งพื้นฐานอื่น ๆ (โหมดบันทึก/เซ็ต LCD/VF/USB สปีด, อื่นๆ)
เวลา/LANGU. ..............................................................................62
(ตั้งนาฬิกา/เซ็ตพื้นที่/LANGUAGE, อื่นๆ)
8
สารบัญ (ต่อ)
การปรับแต่งเมนูส่วนตัว .........................................................................63
การแก้ไขภาพ
การสร้างเพลย์ลิสต์ ..............................................................................65
การเล่นเพลย์ลิสต์ ................................................................................67
การปรับตั้งเพื่อป้องกันภาพ (การป้องกัน) ..................................................67
การคัดลอกและการพิมพ์
การคัดลอกไปยังเครื่องเล่นวิดีโอ/DVD .....................................................69
การบันทึกภาพจาก TV หรือเครื่องเล่นวิดีโอ/DVD
(สำหรับรุ่น DCR-SR100E) ....................................................................71
การพิมพ์ภาพนิ่งที่บันทึกไว้
(เครื่องพิมพ์ที่สนับสนุน PictBridge) ........................................................73
ช่องต่อสำหรับอุปกรณ์ภายนอก ..............................................................75
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา ......................................................................................76
ตัวแสดงเตือนและข้อความเตือน .............................................................86
ข้อมูลเพิ่มเติม
การใช้กล้องถ่ายวิดีโอในต่างประเทศ .......................................................90
โครงสร้างของไฟล์/โฟลเดอร์บนฮาร์ดดิสก์ของกล้องวีดีโอ ...........................92
รายละเอียดของก้อนแบตเตอรี่ “InfoLITHIUM” .........................................93
การดูแลรักษาและข้อควรระวัง ................................................................94
รายละเอียด ........................................................................................96
อภิธานศัพท์, ดัชนีคำศัพท์
อธิบายศัพท์ .......................................................................................99
ดัชนีคำศัพท์ .....................................................................................101
9
10
เพลิดเพลินกับ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
ท่านสามารถใช้ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ ทำอะไรได้บ้าง
การบันทึกภาพและการรับชมภาพ: ชัดเจน ง่าย และสะดวก
การบันทึกภาพลงบนฮาร์ดดิสก์เป็นเวลา หลายชั่วโมง (หน้า 15, 28)
ท่านสามารถบันทึกภาพได้นานกว่า 7 ชั่วโมง* เมื่อ ภาพถูกเซ็ตด้วยคุณภาพสูง ([HQ]) บนฮาร์ดดิสก์ ข้อมูลที่ถูกบันทึกทั้งหมดจะถูกเก็บในพื้นที่ว่างของ ฮาร์ดดิสก์ ท่านจึงไม่ต้องเสี่ยงต่อการผิดพลาดใน การเขียนภาพลงบนภาพโปรดของท่าน นอกจากนี้ ท่านยังไม่จำเป็นต้องย้อนกลับหรือ ฟอร์เวิร์ด ภาพเคลื่อนไหวของท่าน และท่านยัง สามารถเริ่มการบันทึกภาพเมื่อใดก็ได้ที่ท่านพร้อม
* หากท่านเปลี่ยนคุณภาพของภาพเคลื่อนไหว ท่านจะ
สามารถบันทึกภาพได้นานขึ้น
สามารถค้นหาซีนภาพได้อย่างรวดเร็วบน หน้าจอ VISUAL INDEX (หน้า 29)
ท่านสามารถตรวจสอบภาพทั้งหมดที่บันทึกอยู่บน แผ่นดิสก์ได้อย่างรวดเร็วด้วยหน้าจอ VISUAL INDEX เพียงสัมผัสซีนภาพที่ต้องการ ท่านก็สามารถ รับชมซีนภาพดังกล่าวได้ทันที
นอกจากนี้ ท่านยังสามารถค้นหาซีนภาพที่ต้องการจาก วันที่บันทึกด้วยการใช้ดัชนีวันที่
การรับชมภาพบนทีวีหรือบันทึกภาพเก็บไว้ ในอุปกรณ์ VCR/DVD
ท่านสามารถเชื่อมโยงกล้อง Handycam โดยตรง กับโทรทัศน์ เพื่อเล่นภาพที่ถูกบันทึกแล้ว (หน้า 40) นอกจากนี้ ท่านยังสามารถเก็บบันทึกข้อมูลเหล่านี้ใน อุปกรณ์ VCR/DVD
ท่านสามารถบันทึกภาพสู่ฮาร์ดดิสก์ของกล้องวีดีโอ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ นำเสนอ ทางเลือกที่มากกว่าเทปหรือกล้องวีดีโอ DVD เพื่อความสะดวกและความบันเทิงของท่าน
11
เพลิดเพลินกับ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
สามารถบันทึกเสียงเหมือนจริงได้ (บันทึกเสียงแบบเซอร์ราวด์ 5.1ch) (หน้า 33)
การเชื่อมต่อ Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ กับเครื่องคอมพิวเตอร์
ท่านสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวด้วยเสียงแบบ เซอร์ราวด์ ท่านสามารถสร้าง DVD ซึ่งบรรจุภาพ เคลื่อนไหวของท่านด้วยเสียงแบบเซอร์ราวด์กับ ซอฟแวร์คอมพิวเตอร์จัดมาให้ในกล่อง ซึ่งให้เสียง คมชัดเต็มพิกัดบนโฮมเธียเตอร์
One Touch DVD Burn (คู่มือโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
ท่านสามารถเก็บบันทึกภาพบน DVD ด้วยการสัมผัสอย่าง ง่ายครั้งเดียว ภาพที่ไม่ได้ถูกเก็บบันทึกใน DVD ด้วย One Touch DVD Burn จะสามารถถูกเก็บบันทึกโดย อัตโนมัติ
การแก้ไขภาพและสร้าง DVD กับภาพที่ต้องการ (คู่มือโปรแกรมคอมพิวเตอร์)
ท่านสามารถคัดลอกภาพสู่คอมพิวเตอร์ของท่าน และท่าน ยังสามารถแก้ไขภาพและสร้าง DVD กับภาพที่ต้องการได้
12
การใช้งาน Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
ภาพจะถูกบันทึกในฮาร์ดดิสก์ภายในเครื่อง ดังนั้นหากพื้นที่ของฮาร์ดดิสก์เต็มท่านจะไม่สามารถ บันทึกภาพใหม่ได้ ข้อแนะนำคือ ท่านควรเก็บบันทึกข้อมูลภาพเป็นครั้งคราวและลบภาพที่ไม่ จำเป็นออกจากฮาร์ดดิสก์ของกล้องวีดีโอ
• หากท่านลบภาพที่ไม่จำเป็นทิ้ง ท่านจะสามารถบันทึกภาพบนพื้นที่ว่างของฮาร์ดดิสก์ได้อีกครั้ง
การรับชมภาพบน Handycam ระบบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์
• การรับชมภาพบนจอ LCD (หน้า 29)
• การรับชมภาพบนจอ TV (หน้า 40)
การเตรียม (หน้า 13)
การบันทึก (หน้า 28)
การบันทึก
การบันทึกภาพบน DVD หรืออุปกรณ์ประเภทเดียวกัน
• การบันทึกภาพบน DVD ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (“คู่มือโปรแกรม คอมพิวเตอร์”)
• การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ (“คู่มือโปรแกรม คอมพิวเตอร์”)
• การคัดลอกภาพลงบนอุปกรณ์ VCR/DVD (หน้า 69)
การลบภาพ
ลบข้อมูลภาพที่ถูกเก็บบันทึกในกล้องวีดีโอ หากท่านลบภาพ ที่ไม่จำเป็นทิ้ง ท่านจะสามารถบันทึกภาพใหม่บนพื้นที่ว่าง ของฮาร์ดดิสก์ได้อีกครั้ง
• เลือกภาพและลบภาพ (หน้า 43)
• ลบภาพทั้งหมด ([ฟอร์แมต HDD], หน้า 57)
13
การเริ่มต้นใช้งาน
การเริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนที่ 1: ตรวจสอบอุปกรณ์ที่จัดมาให้
โปรดตรวจสอบให้แน่ใจว่าอุปกรณ์ต่อไปนี้มา พร้อมกับกล้องถ่ายวิดีโอของท่านครบถ้วน ตัวเลขที่อยู่ในวงเล็บคือจำนวนของอุปกรณ์ รายการนั้น
อุปกรณ์แปลงไฟ AC (1) (หน้า 14)
สายไฟหลัก (1) (หนัา 14)
สายต่อ A/V (1) (หน้า 40, 69, 71)
สาย USB (1) (หน้า 73, 75)
รีโมทควบคุมไร้สาย (1) (หน้า 39)
ติดตั้งแบตเตอรี่ลิเธียมแบบแผ่นกลมไว้แล้ว
ก้อนแบตเตอรี่แบบชาร์จไฟได้ NP-FP60 (1) (หน้า 15)
ผ้าเช็ดทำความสะอาด (1) แผ่น CD-ROM ImageMixer for HDD Comcoder
“คู่มือการใช้งานกล้อง” (คู่มือฉบับนี้) (1)
“คู่มือโปรแกรมคอมพิวเตอร์” (1)
14
ขั้นตอนที่ 2: ชาร์จก้อนแบตเตอรี่
ท่านสามารถชาร์จแบตเตอรี่โดยต่อก้อน แบตเตอรี่ชนิด “InfoLITHIUM” (รุ่น P) (หน้า 93) เข้ากับกล้องถ่ายวิดีโอ
• ท่านไม่สามารถใช้ก้อนแบตเตอรี่รุ่น NP-FP30 กับกล้องถ่ายวิดีโอของท่าน (ตัวเลขรุ่นของก้อน แบตเตอรี่มีระบุอยู่ที่ด้านหลัง) การฝืนใช้แรงมากเกินไปเพื่อติดตั้งก้อนแบตเตอรี่ อาจทำให้กล้องถ่ายวิดีโอทำงานผิดปกติ อย่างเช่น ประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ลดลงหรือ ทำให้ไม่สามารถถอดก้อนแบตเตอรี่ออกได้
1 ใส่ก้อนแบตเตอรี่ตามทิศทางลูกศร
จนกระทั่งคลิ๊กเข้าที่
2 เลื่อนสวิตช์ POWER ไปตามทิศทาง
ลูกศรเพื่อตั้งค่าไปที่ OFF (CHG) (การตั้งค่าเริ่มต้น)
ON
OFF
(CHG)
POWER
MODE
3 ต่ออุปกรณ์แปลงไฟ AC เข้ากับช่อง
ต่อ DC IN ของกล้องถ่ายวิดีโอ
เปิดฝาปิดช่องต่อ เพื่อต่อเข้ากับอุปกรณ์ แปลงไฟ AC
4 ต่อสายไฟหลักเข้ากับอุปกรณ์แปลง
ไฟ AC และเต้าจ่ายไฟ
ไฟ CHG (ชาร์จ) สว่างขึ้นพร้อมกับ เริ่มต้นการชาร์จไฟ
CHG
ไฟ CHG
สวิตช์ POWER
ช่องต่อ DC IN
แบตเตอรี่
ฝาปิดช่องต่อ
ปลั๊ก DC
อุปกรณ์แปลง ไฟ AC
ไปยังเต้า จ่ายไฟ
สายไฟหลัก
หันด้านที่มี เครื่องหมาย v ลงและต่อเข้ากับ v ที่กล้องวีดีโอ
ฝาปิดช่องต่อ
15
การเริ่มต้นใช้งาน
5 แสงไฟ CHG (charge) ดับเมื่อ
แบตเตอรี่ได้รับการชาร์จอย่าง สมบูรณ์ ถอดเครื่องแปลงไฟ AC จากเต้าเสียบ DC IN บนกล้องวีดีโอ ของท่าน
• ถอดเครื่องแปลงไฟ AC ออกจากทั้งตัวกล้อง
วีดีโอและปลั๊ก DC
การปลดก้อนแบตเตอรี่ออก
เลื่อนสวิตช์ POWER ไปที่ OFF (CHG) จากนั้นเลื่อนปุ่มปลด BATT (แบตเตอรีี่) เพื่อนำก้อนแบตเตอรี่ออก
ปุ่มปลด BATT (แบตเตอรี่)
• ในการปลดก้อนแบตเตอรี่ออก ต้องแน่ใจว่าไม่มี ไฟสถานะใดๆ ของสวิตช์ POWER (หน้า 17) ติดค้างอยู่
การเก็บรักษาก้อนแบตเตอรี่
ใช้ก้อนแบตเตอรี่ให้หมดหากคุณไม่ต้องการ ใช้อีกเป็นเวลานาน (หน้า 93)
เมื่อใช้แหล่งจ่ายไฟภายนอก
ให้ทำการเชื่อมต่อแบบเดียวกับการชาร์จ ก้อนแบตเตอรี่ โดยก้อนแบตเตอรี่จะไม่ สูญเสียพลังไฟในกรณีนี้
เวลาในการชาร์จ (ชาร์จเต็ม)
ระยะเวลาโดยประมาณ (นาที) ในการชาร์ จก้อนแบตเตอรี่เปล่าจนเต็ม
ก้อนแบตเตอรี่ เวลาในการชาร์จ
NP-FP50 125 NP-FP60 (จัดมาให้) 135 NP-FP70 155 NP-FP71 170 NP-FP90 220
เวลาในการบันทึก
ระยะเวลาโดยประมาณ (นาที) เมื่อใช้ก้อน แบตเตอรี่ที่ชาร์จไฟจนเต็ม
ก้อนแบตเตอรี่
เวลาบันทึก อย่าง ต่อเนื่อง
เวลาบันทึก ไม่ต่อเนื่อง*
NP-FP50
65 70 70
30 35 35
NP-FP60 (จัดมาให้)
100 110 110
50 55 55
NP-FP70
135 150 155
65 75 75
NP-FP71
165 180 185
80 90 90
NP-FP90
250 270 275
125 135 135
* เวลาบันทึกไม่ต่อเนื่องเป็นระยะเวลาที่ท่าน
เริ่มต้น/หยุดบันทึก, เปิด/ปิดสวิตช์กล้องและซูม ภาพซ้ำไปซ้ำมา
• การวัดระยะเวลาอยู่ภายใต้เงื่อนไขต่อไปนี้ – ค่าบน: เมื่อเปิดไฟส่องหลัง LCD – ค่ากลาง: เมื่อปิดไฟส่องหลัง LCD – ค่าล่าง: เวลาในการบันทึกเมื่อใช้ช่องมองภาพ
และปิดจอภาพ LCD
ต่อ ,
16
เวลาในการรับชม
ระยะเวลาโดยประมาณ (นาที) ที่สามารถรับ ชมภาพได้เมื่อใช้ก้อนแบตเตอรี่ที่ชาร์จไฟจน เต็ม
ก้อนแบตเตอรี่
จอภาพ LCD เปิด*
จอภาพ LCD ปิด
NP-FP50 105 125 NP-FP60
(จัดมาให้)
160 190
NP-FP70 225 265 NP-FP71 270 315 NP-FP90 400 475
* เมื่อเปิดไฟส่องหลัง LCD
รายละเอียดก้อนแบตเตอรี่
• ก่อนทำการชาร์จก้อนแบตเตอรี่ ให้เลื่อนสวิตช์ POWER ไปที่ OFF (CHG)
• ไฟ CHG (ชาร์จ) จะกระพริบระหว่างการชาร์จไฟ หรือการแสดง BATTERY INFO (หน้า 35) อาจ แสดงคลาดเคลื่อนได้ในกรณีต่อไปนี้
– ใส่ก้อนแบตเตอรี่ไม่ถูกต้อง – ก้อนแบตเตอรี่เสีย – ก้อนแบตเตอรี่ไฟหมดสนิท
(สำหรับ BATTERY INFO เท่านั้น)
• จะไม่มีกำลังไฟจ่ายออกจากก้อนแบตเตอรี่หาก อุปกรณ์แปลงไฟ AC ยังต่ออยู่กับช่องต่อ DC IN ของกล้องถ่ายวิดีโอ ถึงแม้จะถอดสายไฟหลัก ออกจากเต้าจ่ายไฟแล้วก็ตาม
• ขอแนะนำให้ใช้ก้อนแบตเตอรี่รุ่น NP-FP70, NP-FP71 หรือ NP-FP90 เมื่อใช้ร่วมกับไฟวิดีโอ (อุปกรณ์เสริม)
รายละเอียดเวลาในการชาร์จ/บันทึก/รับชมภาพ
• ดำเนินการจับเวลาเมื่อกล้องถ่ายวิดีโอมีอุณหภูมิ 25˚C (ขอแนะนำ 10-30˚C)
• เวลาในการบันทึกภาพและรับชมภาพจะสั้นลง เมื่อใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอในที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ
• เวลาในการบันทึกภาพและรับชมภาพจะสั้นลง กว่านี้ โดยขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมที่ท่านใช้งาน กล้องถ่ายวิดีโอ
รายละเอียดอุปกรณ์แปลงไฟ AC
• ต่ออุปกรณ์แปลงไฟ AC เข้ากับเต้าจ่ายไฟบน ผนังที่อยู่ใกล้ หากมีความผิดปรกติใดๆเกิดขึ้น ให้รีบถอดปลั๊กของอุปกรณ์แปลงไฟ AC ออก จากเต้าจ่ายไฟทันที
• อย่าวางอุปกรณ์แปลงไฟ AC ไว้ในบริเวณแคบๆ อย่างเช่นระหว่างกำแพงกับเฟอร์นิเจอร์
• ระวังอย่าลัดวงจรของส่วนปลั๊ก DC ของอุปกรณ์ แปลงไฟ AC หรือขั้วไฟฟ้าของแบตเตอรี่ด้วย วัตถุที่เป็นโลหะ เพราะอาจเป็นสาเหตุให้เกิด ความผิดปกติกับอุปกรณ์ได้
ข้อควรระวัง
• แม้ว่ากล้องวีดีโอของท่านจะปิดอยู่ AC power ยังคงชาร์จไฟในขณะที่ต่อเข้ากับเต้าเสียบบน ผนัง ผ่านเครื่องแปลงไฟ AC
ขั้นตอนที่ 2: ชาร์จก้อนแบตเตอรี่ (ต่อ)
17
การเริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนที่ 3: เปิดเครื่องและถือกล้องถ่ายวิดีโอ
ในการบันทึกภาพ ให้เลื่อนสวิตช์ POWER ไปเพื่อเปิดไฟสถานะที่สัมพันธ์กัน สำหรับการใช้งานกล้องวิดีโอเป็นครั้งแรก หน้าจอ [ตั้งนาฬิกา] จะปรากฏขึ้น (หน้า 20)
สวิตช์ POWER
ฝาปิดเลนส์
1 เปิดเครื่องโดยเลื่อนสวิตช์ POWER
ไปตามทิศทางลูกศรพร้อมกับกดปุ่ม สีเขียวที่ศูนย์กลาง
ในการบันทึกภาพ ให้เลื่อนเปลี่ยนโหมด ของปุ่มสวิตช์โดยเลื่อนสวิตช์ POWER ไปตามทิศทางลูกศรจนกระทั่งไฟสถานะ ที่สัมพันธ์กันสว่างขึ้น
ON
OFF
(CHG)
POWER
MODE
(ภาพเคลื่อนไหว): เพื่อบันทึกภาพ เคลื่อนไหว
(ภาพนิ่ง): เพื่อบันทึกภาพนิ่ง
(PLAY/EDIT): สำหรับเล่นภาพ
บนกล้องวีดีโอหรือแก้ไขภาพ
• เมื่อท่านเซ็ตสวิตช์ POWER ไปยัง
(ภาพเคลื่อนไหว) หรือ (ภาพนิ่ง) ฝา ปิดเลนส์จะเปิดออก
• หลังจากที่ได้ตั้งวันที่และเวลาเรียบร้อยแล้ว ([ตั้งนาฬิกา], หน้า 20) ครั้งต่อไปที่ท่าน เปิดสวิตช์กล้องถ่ายวิดีโอจะปรากฏวันที่และ เวลาปัจจุบันขึ้นบนจอภาพ LCD เป็นเวลา สองสามวินาที
2 ถือกล้องถ่ายวิดีโอให้ถูกต้อง
3 ถือให้แน่นแล้วรัดสายรัด
วิธีปิดสวิตช์กล้องวิดีโอ
เลื่อนสวิตช์ POWER ไปที่ OFF (CHG)
• กล้องวิดีโอที่เพิ่งซื้อมาใหม่จะปิดเครื่องโดย อัตโนมัติ หากท่านปล่อยให้กล้องถ่ายวิดีโอเปิด ค้างไว้โดยไม่ใช้งานใดๆ เกินกว่า 5 นาที ทั้งนี้ เพื่อประหยัดพลังงานของก้อนแบตเตอรี่ ([ปิด อัตโนมัติ], หน้า 62)
ปุ่มสีเขียว
18
ขั้นตอนที่ 4: ปรับจอภาพ LCD และช่องมองภาพ
จอภาพ LCD
เปิดจอภาพ LCD ออก 90 องศาจากตัว กล้องถ่ายวิดีโอ (1) แล้วหมุนไปยัง ตำแหน่งที่ดีที่สุดสำหรับบันทึกภาพหรือรับ ชมภาพ (2)
2 180 องศา
(สูงสุด)
DISP/BATT INFO
2 90 องศา
(สูงสุด)
1 90 องศาจากตัว
กล้องถ่ายวิดีโอ
• ระวังอย่ากดโดนปุ่มบนขอบจอภาพ LCD เมื่อ ท่านเปิดหรือปิดจอภาพ หรือเมื่อปรับมุมของ จอภาพ LCD
• หากท่านหมุนจอภาพ LCD ออก 90 องศาจาก ตัวกล้อง แล้วหมุนไปทางด้านเลนส์ 180 องศา ท่านจะสามารถปิดจอภาพ LCD โดยให้ด้าน จอภาพ LCD หันออกด้านนอกได้ ให้ความ สะดวกยิ่งขึ้นสำหรับการรับชมภาพ
การปิดไฟส่องหลัง LCD เพื่อให้ แบตเตอรี่ใช้งานได้นานยิ่งขึ้น
กดปุ่ม DISP/BATT INFO ค้างไว้สักครู่ จนกระทั่ง ปรากฏขึ้น การตั้งค่านี้มีประโยชน์เมื่อท่านใช้งาน กล้องถ่ายวิดีโอในที่สว่างมากหรือเมื่อท่าน ต้องการประหยัดพลังงานจากก้อนแบตเตอรี่ โดยการตั้งค่านี้จะไม่มีผลใดๆ ต่อภาพที่ กำลังบันทึก หากต้องการยกเลิก ให้กด DISP/BATT INFO ค้างไว้จนกระทั่ง หายไป
• โปรดดูรายละเอียดการปรับความสว่างของ จอภาพ LCD ที่หัวข้อ [เซ็ต LCD/VF] [ความจ้า LCD] (หน้า 60)
ช่องมองภาพ
ท่านสามารถชมภาพโดยผ่านช่องมองภาพ เมื่อจอ LCD ปิดอยู่ เพื่อหลีกเลี่ยงการ สูญเสียแบตเตอรี่ หรือเมื่อภาพที่ปรากฏบน จอ LCD คุณภาพต่ำ
• ท่านสามารถปรับความสว่างของแบ็คไลท์ของ ช่องมองภาพโดยการเลือก เซ็ต STD [เซ็ต LCD/VF]-[ไฟส่องหลัง VF] (หน้า 60) ภาพที่ถูกบันทึกไว้จะไม่ได้รับผลกระทบจาก การเซ็ตดังกล่าว
• ท่านสามารถปรับค่า [เฟดเดอร์] และ [จัดแสง] ได้ขณะมองผ่านช่องมองภาพ (หน้า 56)
ช่องมองภาพ ดึงช่องมองภาพ จนกระทั่งได้ยินเสียง คลิ๊ก
ปุ่มปรับเลนส์มองภาพ เลื่อนปุ่มปรับเลนส์ จนกระทั่งมองเห็น ภาพชัดเจน
19
การเริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนที่ 5: การใช้จอภาพแบบสัมผัส
ท่านสามารถรับชมภาพที่บันทึกไว้ (หน้า 26,
29) หรือเปลี่ยนการเซ็ต (หน้า 46) โดยการ ใช้จอระบบสัมผัส สัมผัสปุ่มที่ปรากฏอยู่บนจอ
จับด้านหลังของจอ LCD ด้วยนิ้วมือ จากนั้นสัมผัสปุ่มที่ปรากฏอยู่บนจอ
สัมผัสปุ่มบนจอภาพ LCD
DISP/BATT INFO
• ปฏิบัติตามกระบวนการที่ได้อธิบายไว้ข้างต้นเมื่อ ท่านกดปุ่มบนขอบจอภาพ LCD
• ระวังอย่ากดโดนปุ่มบนขอบจอภาพ LCD เมื่อใช้งานแผงจอภาพสัมผัส
• หากปุ่มบนแผงจอภาพสัมผัสทำงานไม่ถูกต้อง ให้ปรับจอภาพ LCD ใหม่ (คาลิเบรชั่น) (หน้า
95)
ยกเลิกตัวแสดงบนจอภาพ
กด DISP/BATT INFO เพื่อยกเลิกหรือแสดง ตัวแสดงบนจอภาพ (ตัวนับ, อื่นๆ)
การเปลี่ยนการตั้งภาษา
ท่านสามารถเปลี่ยนการแสดงข้อความบน จอภาพให้เป็นภาษาที่ต้องการ ให้เลือกภาษา สำหรับจอภาพใน [LANGUAGE] บนเมนู
เวลา/LANGU. (หน้า 62)
20
ขั้นตอนที่ 6: ตั้งวันที่และเวลา
ให้ตั้งวันที่และเวลาเมื่อท่านใช้งานกล้องถ่าย วิดีโอเป็นครั้งแรก หากไม่ตั้งวันที่และเวลา หน้าจอ [ตั้งนาฬิกา] จะ ปรากฏขึ้นบน จอภาพทุกครั้งที่ท่านเปิดกล้องถ่ายวิดีโอขึ้น มาใช้งาน หรือเมื่อเลื่อนตำแหน่งสวิตช์ POWER
• หากท่านไม่ได้ใช้กล้องวิดีโอนานประมาณ 3
เดือน แบตเตอรี่แผ่นกลมแบบชาร์จไฟได้ที่อยู่ ภายในจะหมดกำลังไฟ ทำให้การตั้งค่าวันที่และ เวลาอาจถูกลบไปจากหน่วยความจำ ในกรณีนี้ ให้ชาร์จไฟแบตเตอรี่แบบชาร์จไฟได้ข้างต้น แล้วจึงตั้งค่าวันที่และเวลาใหม่อีกครั้ง (หน้า 95)
สวิตช์ POWER
ให้ข้ามไปขั้นตอนที่ 4 หากเป็นการตั้ง นาฬิกาครั้งแรก
1 สัมผัส t [SETUP]
2 เลือก (เวลา/LANGU.) ด้วยปุ่ม
/ , จากนั้นสัมผัส
3 เลือก [ตั้งนาฬิกา] ด้วยปุ่ม / ,
จากนั้นสัมผัส
4 เลือกประเทศที่ต้องการด้วยปุ่ม
/ , จากนั้นสัมผัส
5 ในกรณีที่จำเป็น ให้ตั้งค่า
[เวลาหน้าร้อน] เป็น [เปิด] ด้วยปุ่ม
/ , จากนั้นสัมผัส
6 ตั้งค่า [ป] (ปี) ด้วยปุ่ม / ,
จากนั้นสัมผัส
• ท่านสามารถตั้งค่าปีได้จนถึงปี 2079
7 ตั้งค่า [ด] (เดือน), [ว] (วันที่),
ชัวโมงและนาที จากนั้นสัมผัส
นาฬิกาเริ่มเดิน
• สำหรับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ “ความแตกต่างเวลา ทั่วโลก” โปรดดูที่หน้า 91
• วันที่และเวลาที่ทำการบันทึกจะไม่ปรากฏขึ้น ระหว่างบันทึกภาพแต่จะได้รับการบันทึกลงแผ่น ดิสก์โดยอัตโนมัติ โดยท่านสามารถตรวจสอบ ขณะรับชมภาพได้ ([รหัสข้อมูล], หน้า 60)
21
การเริ่มต้นใช้งาน
ขั้นตอนที่ 7: เลือกอัตราส่วนภาพ (16:9 หรือ 4:3) ของภาพที่บันทึก
ท่านสามารถเพลิดเพลินกับภาพมุมกว้าง และความคมชัดสูงได้ เมื่อบันทึกภาพใน โหมด 16:9 (จอกว้าง)
• กรณีที่ท่านต้องการรับชมภาพบน TV จอกว้าง ขอแนะนำให้ทำการบันทึกภาพด้วยโหมด 16:9 (จอกว้าง)
สวิตช์ POWER
WIDE SELECT
ภาพเคลื่อนไหว
1 เลื่อนสวิตช์ POWER ไปตามทิศทาง
ลูกศรเพื่อเปิดไฟสถานะ (ภาพ เคลื่อนไหว)
2 กดปุ่ม WIDE SELECT ซ้ำๆ เพื่อ
เลือกอัตราส่วนจอภาพที่ต้องการ
16:9 (จอกว้าง)*
4:3*
* เมื่อรับชมภาพบนจอภาพ LCD ซึ่งอาจ
แตกต่างจากภาพที่ปรากฏในช่องมองภาพ
• ท่านไม่สามารถเปลี่ยนอัตราส่วนจอภาพใน กรณีต่อไปนี้:
– ขณะกำลังบันทึกภาพเคลื่อนไหว – เมื่อตั้งค่า [ดิจิตอลเอฟเฟ็ค] เป็น
[หนังเก่า] (หน้า 56)
• ความแตกต่างของมุมมองภาพเมื่อใช้แบบ 16:9 (จอกว้าง) และ 4:3 จะแตกต่างกันไป ตามตำแหน่งซูม
การรับชมภาพเมื่อต่อกล้องถ่าย วิดีโอเข้ากับ TV
ตั้งค่า [ชนิดทีวี] เป็น [16:9] หรือ [4:3] ตามชนิดของ TV ของท่าน (16:9/4:3) (หน้า 40)
กรณีที่รับชมภาพแบบ 16:9 (จอกว้าง) โดยตั้งค่า [ชนิดทีวี] เป็น [4:3] ภาพของวัตถุบางชิ้นอาจ มีลักษณะค่อนข้างหยาบ
ภาพนิ่ง
1 เลื่อนสวิตช์ POWER ไปเพื่อปิดไฟ
สถานะ (ภาพนิ่ง)
อัตราส่วนภาพเปลี่ยนเป็นแบบ 4:3
2 กดปุ่ม WIDE SELECT ซ้ำๆ เพื่อ
เลือกการตั้งค่าที่ต้องการ
• ขนาดของภาพนิ่งจะถูกเซ็ตที่ [ 2.3M] ( ) เมื่อเลือกอัตราส่วน 16:9 (กว้าง) และ โหมดสูงสุดที่ [3.0 M] ( ) เมื่อเลือก อัตราส่วน 4:3
• จำนวนของภาพนิ่งที่สามารถบันทึกได้ คือ 9,999 ภาพ
22
Easy Handycam – ใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอด้วยการตั้งค่าแบบอัตโนมัติ
การใช้งาน Easy Handycam
ฟังก์ชั่น Easy Handycam คือ ฟังก์ชั่นสำหรับการตั้งค่าการ เซ็ตโดยอัตโนมัติด้วยการกดปุ่ม EASY เพียงครั้งเดียว ด้วย การมีฟังก์ชั่นพื้นฐานและตัวอักษรบนหน้าจอที่ใหญ่ขึ้น สำหรับการชมภาพที่อย่างง่ายดาย แม้ผู้ใช้ครั้งแรกก็ สามารถเพลิดเพลินกับขั้นตอนง่ายๆ นี้ได้
ปุ่ม EASY
การตั้งค่าของกล้องถ่ายวิดีโอระหว่างการใช้งาน Easy Handycam
สัมผัส [SETUP] เพื่อแสดงรายการตั้งค่าที่สามารถใช้งานได้ โปรดดูรายละเอียดการตั้งค่าที่หน้า 47
สัมผัส
• การตั้งค่าเกือบทั้งหมดถูกกำหนดให้เป็นการตั้งค่าโดยการใช้งาน Easy Handycam
ไม่ปรากฏขึ้นระหว่างการใช้งาน Easy Handycam
• หากต้องการปรับค่าอย่างเช่น การปรับโฟกัสเองหรือเพิ่มเอฟเฟ็คพิเศษ ให้ยกเลิกการใช้งาน Easy Handycam
ปุ่มที่ใช้งานไม่ได้ระหว่างการใช้งาน Easy Handycam
ท่านไม่สามารถใช้งานปุ่มหรือฟังก์ชั่นเหล่านี้เพราะปุ่มและฟังก์ชั่นได้รับการตั้งค่าโดย อัตโนมัติแล้ว หากท่านพยายามตั้งค่าที่ไม่สามารถใช้ได้ ข้อความ [ใช้งานไม่ได้ขณะใช้ Easy Handycam] จะปรากฏขึ้น
• BACK LIGHT (หน้า 33)
• กดปุ่ม DISP BATT/INFO ค้างไว้ (หน้า 18)
• คันโยก/ปุ่มซูม(ระหว่างการเล่นภาพ)
ลองทำการบันทึก หน้า 24
ดำเนินการตามขั้นตอนที่อธิบายในขั้นตอนที่ 1 ถึง 7 (หน้า 13 ถึง 21) ก่อนเริ่มใช้งาน
23
Easy Handycam – ใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอด้วยการตั้งค่าแบบอัตโนมัติ
24
บันทึกภาพได้อย่างง่ายดาย
เลื่อนสวิตช์ POWER ไปตาม ทิศทางลูกศรพร้อมกับกดปุ่ม สีเขียวเมื่อสวิตช์ POWER อยู่ที่ตำแหน่ง OFF (CHG) เท่านั้น
เพื่อบันทึกภาพเคลื่อนไหว เพื่อบันทึกภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว
1 เลื่อนสวิตช์ POWER A ไปตามทิศทางลูกศรเพื่อเปิดไฟสถานะ
(ภาพเคลื่อนไหว)
2 กด EASY
ปรากฏสัญญาณ [เริ่มต้นใช้งาน Easy Handycam] จากนั้น จะปรากฏบนจอ LCD
3 กดปุ่ม START/STOP B (หรือ C)
น.
เตรียม
น.
บันทึก
หากต้องการหยุดบันทึก ให้กดปุ่ม START/STOP อีกครั้ง
• [โหมดบันทึก] จะถูกเซ็ตที่ [HQ] (การเซ็ตขั้นพื้นฐาน)(หน้า 59)
• เวลาที่สามารถบันทึกได้ของภาพเคลื่อนไหวในการบันทึกอย่างต่อเนื่องคือ 12 ชั่วโมง
การบันทึกภาพต่อไป
ทำตามขั้นตอนที่ 3
เตรียม บันทึก
25
Easy Handycam – ใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอด้วยการตั้งค่าแบบอัตโนมัติ
ภาพนิ่ง
1 เลื่อนสวิตช์ POWER A ไปตามทิศทางลูกศรเพื่อเปิดไฟสถานะ (ภาพนิ่ง)
2 กด EASY
ปรากฏสัญญาณ [เริ่มต้นใช้งาน Easy Handycam] จากนั้น จะปรากฏบนจอ LCD
3 กดปุ่ม PHOTO D เบาๆ เพื่อปรับโฟกัส A จากนั้นกดปุ่มลงจนสุด B
บีพ
เสียงชัตเตอร์
มีเสียงชัตเตอร์ดังขึ้นหนึ่งครั้ง การบันทึกภาพเสร็จสิ้นเมื่อ หายไป
• [ คุณภาพ] จะถูกเซ็ตที่ [ละเอียด] (การเซ็ตขั้นพื้นฐาน) (หน้า 55)
บันทึกภาพนิ่งครั้งต่อไป
ใช้ขั้นตอนที่ 3
ยกเลิกคำสั่ง Easy Handycam
กด EASY อีกครั้ง จากนั้นข้อความ จะหายไปจากจอ LCD
กระพริบ b สว่าง
26
รับชมภาพได้อย่างง่ายดาย
1 เลื่อนสวิตช์ POWER ตามทิศทางลูกศรซ้ำๆ กัน เพื่อให้แสงไฟ (PLAY/EDIT)
สว่าง
จอ VISUAL INDEX ปรากฏบนจอ LCD
2 กด EASY
ปรากฏสัญญาณ [เริ่มต้นใช้งาน Easy Handycam] จากนั้นข้อความ จะ ปรากฏบนจอ LCD
เลื่อนสวิตช์ POWER ไปตาม ทิศทางลูกศรพร้อมกับกดปุ่มสี เขียวเมื่อสวิตช์ POWER อยู่ที่ ตำแหน่ง OFF (CHG) เท่านั้น
สวิตช์ POWER
รับชมภาพ
ภาพ 6 ภาพก่อนหน้านี้
ภาพ 6 ภาพถัดไป
ภาพเคลื่อนไหวที่ได้บันทึก/ เล่นภาพครั้งสุดท้ายจะถูก แสดงด้วยเครื่องหมาย i เมื่อท่านสัมผัสเครื่องหมาย i ท่านจะสามารถเล่นภาพ เคลื่อนไหวต่อจากจุดที่ท่าน หยุดภาพเมื่อครั้งก่อนได้
วันที่บันทึก
แถบ
(ภาพเคลื่อนไหว)
แถบ
(ภาพนิ่ง)
แถบ (เพลย์ลิสต์)
(หน้า 67)
27
Easy Handycam – ใช้งานกล้องถ่ายวิดีโอด้วยการตั้งค่าแบบอัตโนมัติ
3 เริ่มการรับชมภาพ
ภาพเคลื่อนไหว
สัมผัสแถบ (ภาพเคลื่อนไหว) จากนั้นสัมผัสภาพย่อขอภาพเคลื่อนไหวที่ต้อง การเล่นภาพ
เมื่อภาพเคลื่อนไหวที่ถูกเลือกเล่นจนจบภาพสุดท้าย จอภาพจะกลับสู่จอ VISUAL INDEX
• สัมผัส / ระหว่างหยุดเล่นชั่วคราวเพื่อเล่นภาพเคลื่อนไหวแบบภาพช้า
• สัมผัส [SETUP] t [ระดับเสียง] จากนั้นปรับระดับเสียงด้วย /
ภาพนิ่ง
สัมผัสแถบ (ภาพนิ่ง) จากนั้นสัมผัสภาพย่อของภาพเคลื่อนไหวที่ต้องการเล่น ภาพ
• การปรากฏจอ VISUAL INDEX อาจใช้เวลาสักครู่
• เมื่อท่านสัมผัส (แก้ไข) บนจอ VISUAL INDEX ท่านสามารถลบภาพได้ ดู “การลบภาพ” (หน้า 43)
ในการยกเลิกการใช้งาน Easy Handycam
กดปุ่ม EASY อีกครั้ง จะหายไปจากจอ LCD
เริ่มต้นซีนภาพ/ ซีนภาพก่อนหน้านี้
หยุด (ไปยังหน้าจอ VISUAL INDEX)
สัมผัสเพื่อสลับระหว่าง เล่นหรือหยุดเล่นชั่วคราว
ซีนภาพถัดไป วันที่/เวลาที่บันทึก
ย้อนกลับ/เดินหน้า
ไปยังหน้าจอ VISUAL INDEX
ปุ่มสไลด์โชว์ (หน้า 43)
วันที่/เวลาที่บันทึก
ก่อนหน้านี้/ถัดไป
28
ภาพเคลื่อนไหว
กด START/STOP A ( หรือ B)
หากต้องการหยุดการบันทึก ให้กด START/STOP อีกครั้ง
การบันทึกภาพ/การรับชม
การบันทึก
1 เลื่อนสวิตช์ POWER ตามทิศทาง
ลูกศรซ้ำๆ กัน เพื่อให้แสงไฟสว่าง
2 เริ่มการบันทึกภาพ
PHOTO สวิตช์ POWER
START/STOP A
START/STOP B
ฝาครอบเลนส์
เปิดออกโดยสัมพันธ์กับการ
ตั้งสวิตช์ POWER
กดปุ่มสีเขียวเมื่อสวิตช์ POWER อยู่ในตำแหน่ง OFF (CHG)
แสงไฟ ACCESS
ปุ่มซูม
[เตรียม] b[บันทึก]
ภาพนิ่ง
กด PHOTO เบาๆ เพื่อปรับโฟกัส A จากนั้นกดลงจนสุด B
บีพ
เสียงชัตเตอร์
มีเสียงชัตเตอร์ดังขึ้นหนึ่งครั้ง การบันทึก ภาพเสร็จสิ้นเมื่อ หายไป
กระพริบ b สว่าง
หากแสงไฟ ACCESS สว่างหลังจากเสร็จสิ้นการบันทึก หมายความว่าข้อมูลยังคงถูกเขียนลงบนฮาร์ดดิสก์ อยู่ อย่าทำให้กล้องได้รับการกระทบกระเทือนหรือสั่นสะเทือน และอย่าถอดแบตเตอรี่หรือเครื่องแปลงไฟ AC
• ท่านไม่สามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวหรือภาพนิ่งได้ในเวลาเดียวกัน
• เวลาที่สามารถบันทึกได้อย่างต่อเนื่องของภาพเคลื่อนไหว ไม่เกิน 12 ชั่วโมง
• เมื่อข้อมูลภาพเคลื่อนไหวมีขนาดเกิน 2 GB ไฟล์ใหม่จะถูกสร้างขึ้นโดยอัตโนมัติ
• สำหรับคุณภาพของภาพเคลื่อนไหว ดู [โหมดบันทึก] (หน้า 59) สำหรับคุณภาพของภาพนิ่ง ดู [ ขนาด ภาพ] (หน้า 55)
29
การบันทึกภาพ/การรับชม
การรับชม
2 เริ่มการเล่นภาพ
ภาพเคลื่อนไหว
สัมผัสแถบ (ภาพเคลื่อนไหว) และ ภาพเคลื่อนไหวที่ต้องการเล่นภาพ
เริ่มต้นซีนภาพ/ ซีนภาพ ก่อนหน้านี้
สัมผัสเพื่อสลับ ระหว่างเล่นหรือ หยุดเล่นชั่วคราว
ซีนภาพ ถัดไป
หยุด (ไปยังหน้าจอ VISUAL INDEX)
ย้อนกลับ/ เดินหน้า
จอภาพจะกลับสู่จอ VISUAL INDEX เมื่อการเล่น ภาพเสร็จสมบูรณ์
ภาพนิ่ง
สัมผัสแถบ (ภาพนิ่ง) และภาพนิ่งที่ ต้องการเล่นภาพ
ปุ่มสไลด์โชว์ (หน้า 42)
ไปยังหน้า จอ VISUAL INDEX
ก่อนหน้านี้/ ถัดไป
การปรับระดับเสียง
สัมผัส t [ระดับเสียง], จากนั้นปรับ ระดับด้วย /
• กรณีที่ไม่พบรายการ [ระดับเสียง] ใน ให้สัมผัส [SETUP] (หน้า 60)
• สัมผัส / ในระหว่างที่หยุดการเล่น ภาพเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ
การสัมผัส / หนึ่งครั้ง จะทำให้การ ย้อนกลับ/การฟอร์เวิร์ดเร็วขึ้นประมาณ 5 เท่า การสัมผัสสองครั้งจะทำให้การย้อนกลับ/การ ฟอร์เวิร์ดเร็วขึ้นประมาณ 10 เท่า การสัมผัสสาม ครั้งจะทำให้การย้อนกลับ/การฟอร์เวิร์ดเร็วขึ้น ประมาณ 30 เท่า และการสัมผัสสี่ครั้งจะทำให้การ ย้อนกลับ/การฟอร์เวิร์ดเร็วขึ้นประมาณ 60 เท่า
1
เลื่อนสวิตช์ POWER ตามทิศทางลูกศรซ้ำๆ กัน เพื่อให้แสงไฟ (PLAY/EDIT) สว่าง
หน้าจอ VISUAL INDEX ปรากฏขึ้นบนจอภาพ LCD
• การเลื่อนปุ่มซูมจะเปลี่ยนค่าของจอ VISUAL INDEX จาก 6 เป็น 12 และจำนวนภาพที่สามารถแสดง ได้ภายในเวลาเดียวกันจะเพิ่มขึ้น
• กด [ แสดงผล] ใน เซ็ต STD เพื่อเซ็ตจำนวนภาพย่อที่ปรากฏในจอ VISUAL INDEX
• หากท่านกดปุ่ม / ค้างไว้ ท่านจะสามารถเลื่อนดัชนีภาพย่อได้อย่างรวดเร็ว
ภาพเคลื่อนไหวที่ได้บันทึก/ เล่นภาพครั้งสุดท้ายจะถูก แสดงด้วยเครื่องหมาย i เมื่อท่านสัมผัสเครื่องหมาย i ท่านจะสามารถเล่นภาพ เคลื่อนไหวต่อจากจุดที่ท่าน หยุดภาพเมื่อครั้งก่อนได้
ภาพ 6 ภาพ ก่อนหน้านี้
ภาพ 6 ภาพถัดไป
วันที่บันทึก
แถบ (ภาพเคลื่อนไหว)
แถบ
(ภาพนิ่ง)
แถบ (เพลย์ลิสต์)
(หน้า 67)
ต่อ ,
30
การค้นหาภาพที่ต้องการจาก วันที่บันทึก (ดัชนีวันที่)
ท่านสามารถค้นหาภาพที่ต้องการจากวันที่ บันทึกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 เลื่อนสวิตช์ POWER ตามทิศทาง
ลูกศรซ้ำๆ กัน เพื่อให้แสงไฟ (PLAY/EDIT) สว่าง
จอ VISUAL INDEX ปรากฏบนจอ LCD
2
เพื่อค้นหาภาพเคลื่อนไหว สัมผัส แถบ (ภาพเคลื่อนไหว) เพื่อค้นหา ภาพนิ่ง สัมผัสแถบ (ภาพนิ่ง)
3 สัมผัส [วันที่]
วันที่บันทึกภาพปรากฏบนจอ
4 สัมผัสปุ่มแสดงวันก่อน/ครั้งต่อไป
เพื่อเลือกวันที่บันทึกภาพที่ต้องการ
5 สัมผัส ในขณะที่วันที่บันทึกภาพ
ที่ต้องการสว่างอยู่
ภาพของวันที่ถูกเลือกจะปรากฏบนจอ VISUAL INDEX
การรับชม (ต่อ)
ปุ่มแสดงวันก่อน/ครั้งต่อไป
กลับสู่จอ VISUAL INDEX
Loading...
+ 73 hidden pages