Cyberlink POWERDIRECTOR 5NE User Manual

คู่มือการใช้ฉบับย่อ
PowerDirector 5NE
PowerDirector 5NE
จัดทำโดย ฝ่ายฝึกอบรมเทคนิค แผนกบริการ สงวนสิทธิ์ JVC01028/2551
การใช้งาน
เริ่มต้นกับ PowerDirector
Express อยู่ก็สามารถใช้อ้างอิงได้) โดยคู่มือชุดนี้จะเน้นเฉพาะการใช้งานในส่วนต่างๆ ของโปรแกรมที่เกี่ยวเนื่องกับการใช้งานร่วมกับกล้อง
วิดีโอ Everio ของ JVC เท่านั้น สำหรับส่วนอื่นๆ ของโปรแกรมที่นอกเหนือจากคู่มือฉบับนี้ผู้ใช้งานสามารถดูได้จาก User guide ของโปรแกรม
โปรแกรม PowerDirector 5NE เป็นเวอร์ชั่นพิเศษที่ทำขึ้นเพื่อจำหน่ายไปพร้อมกับกล้องวิดีโอ Everio ของ JVC เท่านั้น สำหรับเวอร์ ในส่วนของประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกับการใช้งานโปรแกรมนี้นั้นสามารถดูได้จาก User guide แต่อย่างไรก็ตามในการใช้ งานจริงนั้น ควรจะเผื่อคุณสมบัติต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ให้สูงกว่าที่คู่มือแนะนำประมาณ 3 เท่า เพื่อให้สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และสิ่งสำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ในขณะที่กำลังทำงานด้วยโปรแกรมนี้อยู่ให้ปิดโปรแกรมต่างๆ ที่กำลังทำงานอยู่ เพราะว่าโปรแกรม ต้องการความสามารถของคอมพิวเตอร์ที่สูงมาก
เตรียมพร้อมก่อนการทำงาน
1. ให้ทำการโหลดไฟล์วิดีโอ (ไฟล์ .MOD ที่อยู่ในโฟลเดอร์ SD_VIDEO/PRGxxx) จากกล้อง Everio, ไฟล์ภาพนิ่ง, ไฟล์เสียงต่างๆ (ถ้าต้องการใส่ภาพนิ่งและเสียงต่างๆ รวมอยู่ในวิดีโอที่จะทำด้วย) มาเก็บไว้ที่คอมพิวเตอร์ก่อน
2. ในฮาร์ดดิสก์ที่โปรแกรมติดตั้งอยู่ (ส่วนใหญ่จะเป็นไดร์ฟ C) จะต้องทำให้มีพื้นที่ว่างอย่างน้อย 5 GB สำหรับการทำ DVD และ 1 GB สำหร
3. ปิดโปรแกรมต่างๆ ที่มีการทำงานอยู่ตลอดเวลาเช่น โปรแกรม Antivirus, โปรแกรม Chat ต่างๆ เป็นต้น
ชั่นเต็มคือ PowerDirector 5 นั้นสามารถหาซื้อได้จากร้านจำหน่ายซอร์ฟแวร์ทั่วไปหรือทางเวบไซต์ www.cyberlink.com
ก่อนที่จะเริ่มใช้งาน PowerDirector สิ่งสำคัญที่จะต้องเตรียมพร้อมก่อนที่จะทำงานมีดังนี้
ับการทำ VCD
เมื่อเตรียมทุกอย่างเรียบร้อยแล้วก็พร้อมที่จะทำงานแล้วครับ
ส่วนต่างๆ ของ PowerDirector
โปรแกรม PowerDirector เป็นโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพสูงพอสมควรสำหรับการสร้างสรรค์งานวิดีโอ ซึ่งส่วนการทำงานต่างๆ ของโปรแกรมนั้นมีดังนี้
1. Capture คือส่วนการทำงานสำหรับการแคปเจอร์ (การที่โปรแกรมทำการโหลดข้อมูลวิดีโอ, เสียง แล้วสร้างให้ออกมาเป็นไฟล์ข้อมูลที่ จะทำโปรแกรมในคอมพิวเตอร์สามารถนำไปใช้งานได้) ภาพวิดีโอหรือเสียงจากสื่อต่างๆ ซึ่งรองรับกับการ์ด วิดีโอ/ออดิโอ แคปเจอร์ ต่างๆ อย่างหลากหลาย
2. Edit ซึ่งเป็นส่วนสำคัญที่สุดของโปรแกรม และก็ วิดีโอของเราให้เป็นไปตามที่ต้องการ
3. Produce คือส่วนที่จะทำการเข้ารหัสข้อมูลวิดีโอที่เราทำในส่วน Edit ให้ออกมาเป็นไฟล์วิดีโอที่ใช้งานในคอมพิวเตอร์ หรือจะเอาไป สร้างเป็นแผ่น DVD Video, VCD หรือจะเอาไปทำอย่างอื่นก็สุดแล้วแต่เราจะดำเนินการต่อไป
4. Burn ส่วนนี้จะเป็นส่นของการสร้างแผ่นวิดีโอดิสก์ แต่สำหรับเวอร์ชั่นที่มาพร้อมกับกล้อง Everio นั้นไม่สามารถใช้งานส่วนนี้ได้
รายละเอ
ียดของส่วนต่างๆ ข้างบน เป็นไปตามมรูปในหน้าถัดไป
จะเป็นส่วนที่จะกล่าวถึงมากที่สุด ส่วนนี้นั้นจะเป็นส่วนสำหรับการเติมแต่ง/ตัดทอน
โหมดการทำงานหลักของโปรแกรม มีอยู่ 4 โหมดคือ Capture, Edit, Produce และ Burn
ปุ่มเลือกฟังก์ชั่นการ ซึ่งเป็นปุ่ม ที่จะต้องคลิกเลือกฟังก์ตามที่ ต้องการ แล้วรายการต่างๆ ใน แต่ละฟังก์ชั่นจะโชว์ที่บริเวณ
Media library
บริเวณที่จะแสดงปุ่มฟังก์ชั่น ย่อย ซึ่งจะเปลี่ยนสถาณะไป ตามงานที่เราจะทำ
Media library
ส่วนแสดงคลิปไฟล์ต่างๆ ที่โหลดเข้า มา และรวมทั้งส่วนของเอฟเฟคต่างๆ ที่โปแกรมจัดเอาไว้ให้
Preview windows
เป็นส่วนของการแสดงภาพตัวอย่าง ของคลิปไฟล์ต่างๆ ที่เลือก และ รวมทั้งวิดีโอที่เรากำลังแก้ไข
ฟังก์ชั่นพิเศษสำหรับการแก้ไข วิดีโอและเสียง เป็นฟังก์ชั่นที่จะ ช่วยให้การแก้ไขง่ายขึ้น แต่ สำหรับเวอร์ชั่นนี้ใช้งานไม่ได้
Media tracks คือส่วนที่จะต้องนำคลิปไฟล์ต่างๆ ที่อยู่ใน Media library เอามาวางลงในแทรคต่างๆ
ส่วนต่างๆ ของโปรแกรมในโหมด Edit
Editing video
เมื่อรู้จักกับส่วนต่างๆ ของโปรแกรมในโหมด Edit แล้ว ต่อไปเราจะมาดูกันถึงการแก้ไข (ต่อไปขอใช้คำว่า “ตัดต่อ” นะครับเพราะ เป็นคำที่เข้าใจง่ายและค่อนข้างคุ้นเคยกัน) วิดีโอ, ภาพนิ่ง, เสียง, ข้อความ และเอฟเฟคต่างๆ ที่จะทำให้วิดีโอของเราดูแล้วเป็นมืออาชีพ มากขึ้น หรือพูดง่ายๆ คือทำให้มันดูเหมือนกับแผ่นหนังที่เราซื้อมาดู ขั้นตอนการทำงานสำหรับการตัดต่อวิดีโอเป็นดังนี้
1. โหลดไฟล์วิ
ดีโอ, ภาพนิ่ง และเสียง เพื่อให้มาอยู่ในบริเวณ Media library
2. สำหรับไฟล์วิดีโอและภาพนิ่ง ให้คลิกเลือกไฟล์ที่ต้องการที่อยู่ใน Media library แล้วลากไฟล์นั้นๆ ลงมาวางในช่องบนสุดของ
Media tracks
3. ถ้าต้องการแทรกเสียงต่างๆ (อาจจะเป็นเสียงเพลง เสียงบรรยาย เป็นต้น) เข้าไปในวิดีโอเราด้วย ก็ให้คลิกลากไฟล์เสียงลงมา
วางในช่องที่ 3 และ 4 (นับจากด้านบน) โดยวางลงไปช่องไหนก็ได้
4. ถ้าต้องการแทรกอักษรต่างๆ เข้าไปด้วย ก็ทำได้โดยการ คล
ิกที่ปุ่ม Titles (ปุ่มฟังก์ชั่นรูปตัว T) จากนั้นก็คลิกเลือกแบบอักษร
ที่ต้องการที่โชว์อยู่ใน Media library ลากลงมาวางในช่องที่สองของ Media tracks
5. จากนั้นก็ทำการแก้ไขส่วนต่างๆ ตามที่ต้องการ ซึ่งจะกล่าวต่อไปเป็นส่วน
คลิกที่ปุ่มนี้เพื่อโหลดไฟล์ต่างๆ ตามที่ต้องการโดยจะมี
รายการให้เลือกสองอย่างคือ
1. Load media file(s) เพื่อโหลดทีละไฟล์หรือหลายไฟล์ก็ได้
2. Load media folder(s) เพื่อเลือกโฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ที่ต้อง
การไว้ ไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ในโฟลเดอร์นั้นๆ จะถูกโหลดมาทั้งหมด
1
คลิกที่ปุ่มนี้เพื่อค้นหาโฟลเดอร์ที่ เก็บไฟล์ที่เราได้เตรียมเอาไว้แล้ว
ไฟล์ต่างๆ ที่ถูกเลือกจะถูกโหลด เข้ามาทีละไฟล์ ไฟล์ไหนที่โหลด เสร็จแล้วจะมาปรากฏอยู่ที่ Media library ในระหว่างที่ โปรแกรมกำลังโหลดไฟล์อยู่นั้น เราสามารถยกเลิกก่อนที่จะโหลด เสร็จก็ได้
Note สำหรับไฟล์ที่ถูกโหลดเข้ามา
นี้จะไม่ได้ส่งผลใดๆ ต่อไฟล์ ต้นฉบับ และรวมทั้งการ แก้ไขต่างๆ ในไฟล์นั้น ก็จะ ไม่ได้มีผลใดๆ ต่อไฟล์ต้น ฉบับเช่นกัน
2
4
3
คลิกที่ปุ่มนี้ เมื่อเลือกไฟล์ (หรือโฟลเดอร์) ที่ต้องการได้แล้ว
การแสดงผลของ Media library นั้น สามารถที่จะปรับให้แสดงเฉพาะไฟล์ แต่ละประเภทก็ได้ โดยคลิกที่ปุ่มนี้ จากนั้นก็เลือกประเภทของไฟล์ที่ ต้องการ หลังจากนั้นไฟล์ที่แสดงอยู่ บน Media library ก็จะแสดงให้เห็น เฉพาะประเภทที่ถูกเลือกเท่านั้น สำหรับไฟล์ประเภทต่างๆ เป็นดังรูป
ภาพแบบ Thumbnail ของไฟล์ต่างๆ ที่ ถูกโหลดเข้ามาใน Media library
หลังจากที่โหลดไฟล์ต่างๆ มาเรียบร้อยแล้ว และได้รู้จักวิธีการปรับมุมมองของ Media library แล้ว ต่อไปเราก็จะมาเริ่มส่วนของ การตัดต่อกันจริงๆ แล้วครับ โปรแกรม PowerDirector เวอร์ชั่นที่มาพร้อมกับกล้อง Everio นั้นถึงแม้ว่าจะมีประสิทธิภาพค่อนข้างจำกัด แต่ก็เพียงพอที่จะทำงานได้ค่อนข้างดีทีเดียวครับ ในการตัดต่อวิดีโอนั้นส่วนสำคัญที่สุดก็คือส่วนของ Media tracks ซึ่งประกอบไปด้วย ช่อง (Track) สำหรับภาพนิ่งและภาพวิดีโอ (ช่องบนสุ
ด), ช่องสำหรับใส่ข้อความแทรก (Titles) (ช่องที่สองนับจากด้านบนลงไป), ช่อง สำหรับใส่ไฟล์ที่เกี่ยวกับเสียงมีสองช่อง (ช่องที่สามและสี่ ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนกันทุกประการ) และในบริเวณนี้ก็จะมีส่วนของเส้นเวลา (Time line) และจะมีไสลต์บาร์ที่เอาไว้สำหรับเลื่อนดูภาพที่จะแสดงให้เห็นตรงบริเวณ Preview windows
ต่อไปนี้ก็เริ่มทำงานกันทีละส่วนกันเลยครับ
หน้าจอแสดงภาพ
(Preview)
ปุ่มควบคุมการ แสดงภาพ
แสดงเวลาของงานที่ เลือกตามตำแหน่ง ของไสลต์บาร์
เส้นเวลา (Time line)
ปุ่มปรับมุมมองให้เป็นแบบ Story board
ปุ่มปรับมุมมองให้เป็น Time line (แบบเดียวกับในรูปนี้)
ปุ่มฟังก์ชั่นการทำงานพิเศษเหล่าจะเปลี่ยนแปลงไปตาม คลิปแต่ละคลิปที่อยู่ในช่องมีเดียแทรค
ขั้นตอนการทำงานมีดังนี้
ไสลต์บาร์
ช่องสำหรับไฟล์วิดีโอ และภาพนิ่ง
ช่องสำหรับใส่ข้อความ ที่จะแทรกอยู่ในวิดีโอ
ช่องสำหรับไฟล์เสียง ต่างๆ เช่นไฟล์เพลง เสียงบรรยาย
ส่วนไหนที่ถูกเลือก (คลิกที่คลิปไฟล์นั้นๆ หนึ่งครั้ง) จะปรากฏกรอบสีเขียวล้อมรอบ
1. คลิกที่คลิปไฟล์ใน Media library ตามที่ต้องการ จากนั้นลากไฟล์นั้นลงมาวางในช่องแต่ละช่องด้านล่าง
2. สำหรับช่อง Videos/Pictures สามารถจะใส่ไฟล์ได้ไม่จำกัด แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นก็ควรจะกำหนดเวลาให้เหมาะกับการทำวิดีโอหนึ่งเรื่อง
ข้อควรระวัง ถ้าใส่คลิปวิดีโอ/ภาพนิ่ง เข้าไปมากๆ การประมวลผลของคอมพิวเตอร์จะหนักมาก ซึ่งส่งผลให้คอมพิวเตอร์จะช้ามาก
ขึ้นเรื่อยๆ จนบางครั้งอาจจะทำให้คอมพิเตอร์แฮงค์ได้ หรือบางครั้งโปรแกรมจะแฮงค์แล้วปิดตัวเองไปเลย
3. ที
Time line สามารถที่จะปรับเวลาให้หยาบหรือระเอียดได้ตามต้องการ โดยให้เลื่อนไปอยู่บริเวณ Time line จุดไหนก็ได้ แล้วเมาท์ จะเปลี่ยนเป็นรูปลูกศร ซ้าย-ขวา จากนั้นก็คลิกเมาท์ค้างไว้แล้วลากไปทางซ้ายเพื่อปรับเวลาให้หยาบขึ้น และลากไปทางขวาพื่อปรับ เวลาให้ละเอียดขึ้น เพื่อให้ง่ายต่อการตัดต่อคลิปวิดีโอ/ภาพนิ่ง
4. ต่อไปก็จะเป็นขั้นตอนสำคัญคือ การตัดทอน/เสริม บางส่วนในคลิปต่างๆ และรวมทั้งการใส่เอฟเฟคต่างๆ เพิ่มเข้าไป เด
ี๋ยวไปดูใน
ขั้นตอนถัดไป
Loading...
+ 10 hidden pages