Sony DSC-H3 Users guide [th]

คู่มือ Cyber-shot
DSC-H3
ก่อนเริ่มใช้งานกล้องถ่ายภาพ โปรด อ่านคู่มือฉบับนี้อย่างละเอียดพร้อม กับ “คำแนะนำการใช้งาน” และ
คู่มือพัฒนาการใช้งาน Cyber-
shot” และเก็บรักษาไว้เพื่อใช้อ้าง
อิงในภายหน้า
© 2007 Sony Corporation 3-268-883-41(2)
TH
Vคลิก!
กล้องบันทึกภาพนิ่งระบบดิจิตอล
สารบัญ
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานหน้าจอตั้งค่า
รับชมภาพบนทีวีี
การใช้งานคอมพิวเตอร์
การพิมพ์ภาพนิ่ง
การแก้ไขปัญหา
ข้อมูลเพิ่มเติม
ดัชนีคำศัพท์
การใช้ฟังก์ชั่นสำหรับ รับชมภาพ
การใช้งานฟังก์ชั่น ถ่ายภาพ
2
หมายเหตุสำหรับการใช้งานกล้องถ่ายภาพ
หมายเหตุสำหรับชนิดของ “Memory Stick” ที่สามารถ ใช้งานได้ (ไม่ได้ให้มาด้วย)
“Memory Stick Duo”
กล้องนี้ใช้งานได้ กับแผ่นหน่วยความจำ “Memory Stick Duo”
“Memory Stick” แผ่นหน่วยความจำ
“Memory Stick” ไม่สามารถ
ใช้งาน
ได้กับกล้องน
ี้ี้
แผ่นหน่วยความจำชนิดอื่นไม่ สามารถใช้งานได้
• ศึกษารายละเอียด “Memory Stick Duo” หน้า 115
การใช้งาน “Memory Stick Duo” กับอุปกรณ์ที่ใช้ “Memory Stick”
สามารถทำได้โดยเสียบแผ่น “Memory Stick Duo” เข้าไปในตัวแปลง Memory Stick Duo (ไม่ได้ให้มาด้วย)
ตัวแปลง Memory Stick Duo
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบตเตอรี่
• ควรชาร์จแบตเตอรี่ (ที่ให้มาด้วย) ให้เต็มในครั้ง แรกก่อนใช้งานกล้อง
• ท่านสามารถชาร์จก้อนแบตเตอรี่ได้แม้จะยังใช้ แบตเตอรี่ไม่หมดก็ตาม นอกจากนั้น แม้ไม่ได้ ชาร์จไฟก้อนแบตเตอรี่จนเต็ม ท่านก็สามารถ ใช้งานประจุไฟฟ้าของก้อนแบตเตอรี่ที่มีอยู่บาง ส่วนดังกล่าวได้้
• ถ้าท่านไม่ตั้งใจจะใช้แบตเตอรี่เป็นระยะเวลานาน ให้ใช้แบตเตอรี่จนหมดและถอดออกจาก ตัวกล้อง แล้วเก็บไว้ที่แห้งและเย็น ซึ่งจะรักษา อายุการใช้งานของแบตเตอรี่
• ศึกษารายละเอียดการใช้งานแบตเตอรี่ ดูหน้า 117
เลนส์ Carl Zeiss
กล้องได้ติดตั้งเลนส์ Carl Zeiss ซึ่งสามารถ ถ่ายภาพและได้คอนทราสต์ อย่างคมชัด เลนส์สำหรับกล้องถูกผลิตขึ้น ภายใต้การรับรองมาตรฐานของ Carl Zeiss เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของ Carl Zeiss ของประเทศเยอรมัน
ข้อสังเกตเกี่ยวกับหน้าจอ LCD และเลนส์
• หน้าจอ LCD ถูกผลิตขึ้นโดยใช้เทคโนโลยีที่มี ความแม่นยำสูงมาก เพื่อให้ได้จุดภาพที่ใช้งาน ได้มากกว่า 99.99% อย่างไรก็ตาม จุดมืดและ/ หรือจุดสว่างเล็กๆ (สีขาว, แดง, น้ำเงิน หรือ เขียว) อาจปรากฏขึ้นอย่างต่อเนื่องบนจอภาพ LCD ซึ่งจุดเหล่านี้เกิดขึ้นตามปกติในขั้นตอน ของการผลิต และไม่มีต่อการบันทึกภาพแต่ อย่างใด
จุดมืด ขาว แดง น้ำเงิน หรือเขียว
• การปล่อยให้แสงแดดส่องบนหน้าจอ LCD หรือเลนส์โดยตรงเป็นระยะเวลานานอาจจะ ทำให้เกิดความเสียหายได้ ควรใช้ความ ระมัดระวังเมื่อวางกล้องใกล้หน้าต่างหรือในที่ กลางแจ้ง
• อย่าออกแรงกดบนหน้าจอ LCD หน้าจออาจจะ เปลี่ยนสีซึ่งอาจจะทำให้เกิดความเสียหายได้
• ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ อาจจะมีภาพตกค้าง บนหน้าจอ LCD ไม่ได้แสดงว่ากล้องทำงานผิด ปกติ
• ระมัดระวังอย่ากระแทกเลนส์และอย่าออก แรงกดบนเลนส์
ภาพที่ใช้ในคู่มือนี้้
ภาพที่ใช้เป็นตัวอย่างในคู่มือฉบับนี้เป็นภาพที่ สร้างขึ้นใหม่ ไม่ได้เป็นภาพที่บันทึกโดย กล้องถ่ายภาพนี้แต่อย่างใด
3
หมายเหตุสำหรับการใช้งานกล้องถ่ายภาพ ............................................... 2
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า ............................................................... 7
โฟกัส – โฟกัส การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี ............................................................7
ระดับแสง – ระดับแสง การปรับความเข้มของแสง ................................................9
สี – อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง .................................................................. 10
คุณภาพ – คุณภาพ “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ ........................................ 11
แฟลช – การใช้งานแฟลช ............................................................................13
ส่วนประกอบของกล้อง ........................................................................ 14
ตัวแสดงบนหน้าจอ ............................................................................. 17
การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ ............................................................. 21
การใช้งานหน่วยความจำภายใน ............................................................ 22
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้ปุ่มหมุนเลือกโหมด .................................................................... 23
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ) ............................................... 24
ถ่ายภาพนิ่ง (แบบเลือกบรรยากาศ) ........................................................ 28
ถ่ายภาพโดยปรับระดับแสงด้วยตนเอง .................................................... 31
การดูภาพ ......................................................................................... 33
การลบภาพ ....................................................................................... 35
เรียนรู้ฟังก์ชั่นอื่นๆ – HOME/เมนู ........................................................... 37
รายการในเมนู ................................................................................... 40
การใช้งานฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
เมนูการถ่ายภาพ ............................................................................... 41
เลือกบรรยากาศ: การเลือกบรรยากาศ ขนาดภาพ: การเลือกขนาดภาพ ค้นหาภาพใบหน้า: การค้นหาใบหน้าบนวัตถุ โหมดถ่ายภาพ: เลือกวิธีการถ่ายภาพต่อเนื่อง โหมดสี: เปลี่ยนความสว่างของภาพหรือเพิ่มเอฟเฟ็คพิเศษ ISO: เลือกความไวแสง EV: ปรับระดับความเข้มของแสง โหมดวัดแสง: เลือกโหมดวัดแสง โฟกัส: การเปลี่ยนวิธีโฟกัส อุณหภูมิสี: ปรับโทนสี ระดับแฟลช: ปรับค่าปริมาณแสงแฟลช ลดตาแดง: ลดปรากฏการณ์ตาแดง คอนทราสต์: การปรับคอนทราสต์ ความคมชัด: การปรับความคมชัด
สารบัญ
4
SteadyShot: การเลือกโหมด ป้องกันการเบลอ SETUP: เลือกการตั้งค่าถ่ายภาพ
การใช้ฟังก์ชั่นสำหรับรับชมภาพ
การเล่นภาพจากหน้าจอ HOME
..................................................... 53
(ดูภาพเดี่ยว): เล่นภาพเดี่ยว
(แสดงหน้าจอดัชนี): เล่นแบบแสดงรายการภาพ (สไลด์โชว์): เล่นสไลด์โชว์
เมนูดูภาพ
...................................................................................... 56
(ลบ): ลบภาพ
(สไลด์โชว์): เล่นสไลด์โชว์ (ปรับแต่ง): การรีทัชภาพนิ่ง
(ป้องกัน): ป้องกันการลบภาพโดยไม่ตั้งใจ
: ใส่เครื่องหมายสั่งพิมพ์
(พิมพ์): พิมพ์ภาพด้วยเครื่องพิมพ์ (หมุนภาพ): หมุนภาพนิ่ง (เลือกโฟลเดอร์): เลือกโฟลเดอร์ดูภาพ
การใช้งานหน้าจอตั้งค่า
การกำหนดการตั้งค่าเอง กำหนดการจัดการหน่วยความจำและตั้ง ค่าเอง
............................................................................................ 61
จัดการหน่วยความจำ
................................................................ 63
เครื่องมือหน่วยความจำ - จัดการ Memory Stick .................................. 63
ฟอร์แมต เปลี่ยนโฟลเดอร์์ สร้างโฟลเดอร์ คัดลอก
เครื่องมือหน่วยความจำ - จัดการหน่วยความจำภายใน ........................... 66
ฟอร์แมต
ตั้งค่า
........................................................................................ 67
ตั้งค่าหลัก - ตั้งค่าหลัก 1 ................................................................ 67
เสียงบีป ใช้ค่าเริ่มต้น คำแนะนำระบบ
ตั้งค่าหลัก - ตั้งค่าหลัก 2 ................................................................. 68
เชื่อมต่อ USB สัญญาณวีดีโอ COMPONENT
สารบัญ
5
ตั้งค่าถ่ายภาพ - ตั้งค่าถ่ายภาพ 1 ...................................................... 70
แสงไฟช่วย AF ซูมดิจิตอล เส้นตาราง เลนส์เสริม โหมด AF
ตั้งค่าถ่ายภาพ - ตั้งค่าถ่ายภาพ 2 ...................................................... 73
แสดงภาพอัตโนมัติ
ตั้งเวลานาฬิกา .............................................................................. 74
Language Setting ....................................................................... 75
รับชมภาพบนทีวีี
รับชมภาพบนทีวีี ................................................................................ 76
การใช้งานคอมพิวเตอร์
สนุกกับคอมพิวเตอร์ระบบ Windows ...................................................... 79
การติดตั้งซอฟต์แวร์ (ที่ให้มาด้วย) ........................................................ 81
เกี่ยวกับ “Picture Motion Browser” (ที่ให้มาด้วย) .................................. 83
การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยใช้ “Picture Motion Browser” ....................................................... 84
การคัดลอกภาพไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยไม่ใช้ “Picture Motion Browser” ................................................... 88
การรับชมไฟล์ภาพที่บันทึกอยู่ในเรื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกล้องถ่ายภาพ
โดยการคัดลอกไปยัง “Memory Stick Duo” ........................................... 90
การใช้ “Music Transfer” (ที่ให้มาด้วย) .................................................. 91
การใช้งานคอมพิวเตอร์ระบบ Macintosh ................................................. 92
การใช้ “คู่มือพัฒนาการใช้งาน Cyber-shot” ............................................ 94
การพิมพ์ภาพนิ่ง
วิธีการพิมพ์ภาพนิ่ง ............................................................................. 95
การพิมพ์ภาพโดยตรงด้วยเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานได้กับ PictBridge .................. 96
การสั่งพิมพ์ที่ร้าน ............................................................................... 99
การแก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหา ...............................................................................101
สัญลักษณ์และข้อความเตือน ...............................................................111
สารบัญ
6
ข้อมูลเพิ่มเติม
การใช้งานกล้องถ่ายภาพในต่างประเทศ — แหล่งไฟฟ้า ............................114
ข้อมูลสำหรับ “Memory Stick Duo” .....................................................115
ข้อมูลสำหรับก้อนแบตเตอรี่ .................................................................117
ข้อมูลสำหรับที่ชาร์จแบตเตอรี่ .............................................................118
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ....................................................................................119
สารบัญ
7
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
หัวข้อนี้จะอธิบายถึงพื้นฐานการใช้งานกล้อง โดยจะกล่าวถึงวิธีการใช้งานฟังก์ชั่นต่างๆ ของกล้องถ่ายภาพ อย่างเช่น ปุ่มหมุนเลือกโหมด (หน้า 23) หน้าจอ HOME (หน้า 37) และเมนูต่างๆ (หน้า 39)
โฟกัส
โฟกัส การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี
เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง กล้องจะทำการปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ (โฟกัสอัตโนมัติ) กรุณาจำไว้ว่าให้กดปุ่มชัตเตอร์ลงเพียงครึ่งหนึ่ง
อย่ากดปุ่มชัตเตอร์ ลงจนสุดโดยทันที
กดปุ่มชัตเตอร์ลง ครึ่งหนึ่ง
ตัวแสดงการล็อค AE/AF กะพริบ , ติดนิ่ง/เสียงบีป
จากนั้นจึงกดปุ่ม ชัตเตอร์ลงจน สุด
เมื่อทำการโฟกัสได้ยาก t [โฟกัส] (หน้า 47) ถ้าหากทำการโฟกัสแล้วภาพยังออกมาดูเบลอมัว อาจจะเกิดจากการสั่นสะเทือนของกล้อง t
ดูหัวข้อ “คำแนะนำเพื่อป้องกันภาพเบลอ” ด้านล่าง
โฟกัส ระดับแสง สี คุณภาพ แฟลช
8
คำแนะนำสำหรับป้องกันภาพเบลอ
กล้องเคลื่อนไหวขณะท่านถ่ายภาพ เรียกว่า “กล้องสั่น” อีกนัยหนึ่ง ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ขณะ ท่านถ่ายภาพ เรียกว่า “วัตถุเบลอ”
กล้องสั่น
สาเหตุ
มือหรือตัวสั่นขณะท่านตั้งกล้องและกดปุ่ม ชัตเตอร์ และภาพทั้งหมดก็จะเบลอ
ท่านสามารถลดการเบลอได้
• ใช้ขาตั้งกล้องหรือวางกล้องถ่ายภาพบนพื้น เรียบๆ เพื่อให้กล้องถ่ายภาพอยู่นิ่ง
• ถ่ายภาพ
โดยใช้ฟังก์ชั่นตั้งเวลาเวลา 2 วินาทีและทำให้กล้องนิ่งโดยหนีบแขนไว้ข้าง ลำตัวให้มั่นคง หลังจากที่กดปุ่มชัตเตอร์แล้ว
วัตถุเบลอ
สาเหตุ
แม้ว่ากล้องจะมั่นคงดีแล้ว แต่วัตถุเคลื่อน ไหวระหว่างวัดแสง เมื่อกดชัตเตอร์ ทำให้วัตถุนั้นเบลอได้
ท่านสามารถลดการเบลอได้
• เลือก (โหมดความไวแสงสูง) ในโหมดเลือกบรรยากาศ
• เลือก ISO ที่สูงขึ้นเพื่อให้ความเร็วชัตเตอร์เร็ว ขึ้น และกดชัตเตอร์ก่อนวัตถุจะเคลื่อนไหว
ข้อสังเกต
• ฟังก์ชันป้องกันการเบลอ ถูกเปิดใช้งานอยู่แล้วตามการตั้งค่าเริ่มต้น ดังนั้นถ้ากล้องสั่น จะลดการ เบลออย่างอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผลกับวัตถุที่เบลออยู่แล้ว
• นอกจากนั้น การที่กล้องสั่นและภาพวัตถุเบลออาจเกิดขึ้นได้ง่ายภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีแสง น้อยหรือใช้ความเร็วชัตเตอร์ต่ำ อย่างเช่น เมื่ออยู่ในโหมด (โหมดกลางคืน) หรือ (โหมด บุคคลกลางคืน) ในกรณีนี้ให้ถ่ายภาพตามคำแนะนำด้านบน
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
9
ระดับแสง
ระดับแสง การปรับความเข้มของแสง
ท่านสามารถถ่ายให้ได้ภาพแตกต่างกันได้โดยทำการปรับระดับแสงและความไวแสง ISO ระดับแสงคือปริมาณแสงที่กล้องได้รับเมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์
ระดับแสง:
ความเร็วชัตเตอร์ = ระยะเวลาที่กล้องได้รับแสง
เปิดหน้ากล้อง = ขนาดของช่องเปิดที่ให้แสงผ่านเข้า
มาได้
ความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับ แสงที่แนะนำ) = ความไวแสงที่บันทึก
ภาพ
ระดับแสงสูง
= ปริมาณแสงมากเกินไป ภาพสว่างขาว
ระดับแสงจะถูกปรับให้เหมาะสมโดย อัตโนมัติในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตามท่านสามารถทำการปรับแก้ไข ด้วยตนเองได้ โดยใช้คุณสมบัติข้างล่างนี้
ปรับระดับแสงด้วยตนเอง:
ให้ท่านสามารถปรับความเร็วชัตเตอร์และค่า เปิดหน้ากล้องด้วยตนเอง (หน้า 31)
ปรับค่า EV:
ให้ท่านเลือกปรับแก้ไขจากค่าระดับแสงที่ กล้องคำนวณไว้แล้ว (หน้า 21, 45)
โหมดวัดแสง:
ให้ท่านเลือกเปลี่ยนตำแหน่งบนวัตถุที่ใช้วัด เพื่อคำนวณหาค่าระดับแสง (หน้า 46)
ระดับแสงพอเหมาะ
ระดับแสงต่ำ
= ปริมาณแสงน้อยเกินไป ภาพมืด
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
10
สี
อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง
สีของวัตถุที่ปรากฏในภาพ จะได้รับอิทธิพลจากสภาพแสง
ตัวอย่าง : สีของภาพได้รับอิทธิพลจากแหล่งกำเนิดแสง ดังนี้
สภาพอากาศ/ แหล่งกำเนิดแสง
แสงแดงกลางวัน แสงแดงมีเมฆ ฟลูออเรสเซนซ์ แสงหลอดไฟฟ้า
คุณลักษณะของ แสง
สีขาว (มาตรฐาน)
สีออกน้ำเงิน สีเขียวอ่อน สีออกแดง
โทนสีจะถูกปรับอัตโนมัติในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถปรับโทนสีด้วยตนเอง โดยใช้ [อุณหภูมิสี] (หน้า 49)
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
การปรับความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับแสงที่แนะนำ)
ความไวแสง ISO คือ ระดับความเร็วในการบันทึกภาพ เมื่อตัวรับภาพได้รับแสง ถึงแม้ระดับ แสงเท่าเทียมกัน ภาพที่ถ่ายออกมาอาจจะแตกต่างกันได้ โดยขึ้นกับค่าความไวแสง ISO นี้ วิธีการปรับความไวแสง ISO, ดูหน้า 45
ความไวแสง ISO สูง
ได้ภาพที่สว่างแม้จะบันทึกภาพในที่มืด ในขณะที่เพิ่มความเร็วชัตเตอร์ เพื่อลดการเบลอ
อย่างไรก็ตาม ภาพมีแนวโน้มที่จะมีจุดรบกวนมากขึ้น
ความไวแสง ISO ต่ำ
ได้ภาพที่สะอาดกว่า อย่างไรก็ตาม ภาพอาจจะมืดลงในกรณีที่ระดับแสงไม่เพียงพอ
11
คุณภาพ
คุณภาพ “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ
ภาพถ่ายดิจิตอลประกอบขึ้นจากกลุ่มจุดภาพเล็กๆที่เรียกว่าพิกเซล ภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีขนาดใหญ่ ใช้เนื้อที่หน่วยความจำมากขึ้นและมีรายละเอียดของภาพสูง “ขนาดภาพ” ถูกกำหนดโดยจำนวนพิกเซล ถึงแม้ท่านจะไม่เห็นความแตกต่างบนหน้าจอของกล้อง รายละเอียดเล็กน้อยและเวลาที่ใช้ในการประมวลภาพจะแตกต่าง เมื่อท่านนำภาพนั้นไปพิมพ์ หรือแสดงบนหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์
คำอธิบายพิกเซลและขนาดภาพ
1 ขนาดภาพ: 8M
3264 พิกเซล × 2448 พิกเซล = 7,990,272 พิกเซล
2 ขนาดภาพ : VGA
640 พิกเซล × 480 พิกเซล = 307,200 พิกเซล
พิกเซล
เลือกขนาดภาพที่ต้องการใช้ (หน้า 12)
พิกเซล
จำนวนพิกเซลมาก
(คุณภาพของภาพละเอียด และขนาดไฟล์ภาพใหญ่)
ตัวอย่าง : สำหรับ พิมพ์ถึงขนาด A3
จำนวนพิกเซลน้อย (คุณภาพของภาพหยาบ และขนาดไฟล์ภาพเล็ก)
ตัวอย่าง : ภาพ สำหรับส่งแนบไปกับ อีเมล์
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
12
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
ค่าติดตั้งเริ่มต้นจะถูกแสดงด้วยเครื่องหมาย
ขนาดภาพ คำแนะนำการใช้งาน จำนวนภาพ พิมพ์ภาพ
8M (3264×2448)
สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด A3
น้อย
มาก
ละเอียด
หยาบ
3:2
*
1
(3264×2176)
ถ่ายภาพที่อัตราส่วน 3:2
5M (2592×1944)
สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด A4
3M (2048×1536)
สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด 10x15 ซม หรือ 13x18 ซม
VGA (640×480)
ถ่ายภาพที่ขนาดเล็กสำหรับส่งแนบ ไปกับ e-mail
16:9
*
2
(1920×1080)
ถ่ายภาพที่อัตราส่วน HDTV
*1) ภาพที่บันทึกด้วยอัตราส่วน 3:2 เช่น กระดาษพิมพ์รูปถ่าย หรือ ไปรษณียบัตร ฯลฯ *2) มุมของภาพอาจถูกตัดออกได้ ขณะที่กำลังพิมพ์ (หน้า 108)
ขนาดภาพเคลื่อนไหว เฟรม/วินาที คำแนะนำการใช้งาน 640 (ละเอียด)
(640×480)
ประมาณ 30 ถ่ายภาพเคลื่อนไหวคุณภาพสูงสำหรับแสดงบน
หน้าจอทีวี
640 (ปกติ) (640×480) ประมาณ 17 ถ่ายภาพเคลื่อนไหวคุณภาพปกติสำหรับแสดง
บนหน้าจอทีวี
320 (320×240) ประมาณ 8 บันทึกภาพขนาดเล็กสำหรับส่งแนบไปกับ
e-mail
• ขนาดภาพที่ใหญ่ขึ้น คุณภาพของภาพสูงขึ้นด้วย
• เมื่อจำนวนเฟรมต่อวินาทีเพิ่มขึ้น ภาพที่เล่นจะมีลักษณะราบรื่นมากขึ้น
13
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
แฟลช
การใช้งานแฟลช
เมื่อใช้แฟลช ตาของวัตถุอาจกลายเป็นสีแดง หรือจุดสีขาวกลมอาจปรากฏบนภาพ ปรากฏการณ์เหล่านี้สามารถลดได้ โดยทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
“ปรากฏการณ์ตาแดง”
รูม่านตาจะขยายกว้างเมื่อยู่ในที่มืด แสงไฟแฟลชจะสะท้อนกับหลอดเลือกแดงที่ส่วนหลังของ ดวงตา (เรตินา) ทำให้เกิดเป็นปรากฏการณ์ “ตาแดง”
กล้อง ตา
เรตินา
สามารถลด “ปรากฏการณ์ตาแดง” ได้อย่างไร
• ตั้งค่า [ลดตาแดง] เป็น [เปิด] (หน้า 50)
• เลือก (โหมดความไวแสงสูง)* ในโหมดเลือกบรรยากาศ (หน้า 29) (แฟลชจะถูกปิดลงอัตโนมัติ)
• ขณะที่ตาของวัตถุเปลี่ยนเป็นสีแดง ให้แก้ไขภาพด้วย [ปรับแต่ง] ในเมนูดูภาพ (หน้า 56) หรือกับ ซอฟท์แวร์ที่ให้มาด้วย “Picture Motion Browser”
“จุดสีขาวกลม”
เกิดจากวัตถุขนาดเล็ก (ฝุ่น , ละอองเกสร , อื่นๆ) ที่ลอยอยู่ในอากาศใกล้กับเลนส์ เมื่อวัตถุ เหล่านี้ถูกทำให้เด่นโดยแสงแฟลชของกล้องถ่ายภาพ จะปรากฏขึ้นเป็นจุดวงกลมสีขาว้
กล้อง
วัตถุ
อนุภาค(ฝุ่น, เรณู, เป็นต้น) ในอากาศ
สามารถลด “จุดสีขาวกลม” ได้อย่างไร
• เปิดไฟห้อง และถ่ายภาพวัตถุโดยไม่ใช้แฟลช
• เลือก (โหมดความไวแสงสูง)* ในโหมดเลือกบรรยากาศ (แฟลชจะปิดอัตโนมัติ)
* ถึงแม้ว่าท่านเลือก (โหมดความไวแสงสูง) ในโหมดเลือกบรรยากาศ ความเร็วชัตเตอร์อาจจะช้า
ลงได้ภายใต้สภาวะแสงน้อย หรือในที่มืด ในกรณีนี้ ให้ใช้ขาตั้งกล้องหรือหนีบแขนไว้ข้างลำตัวให้ มั่นคง หลังจากที่กดปุ่มชัตเตอร์แล้ว
14
ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลข หน้าในเครื่องหมายวงเล็บ
2
4
3
7
8
9
5
6
1 ปุ่ม POWER 2 ไฟ POWER
3 ปุ่มหมุนเลือกโหมด (23) 4 ปุ่มชัตเตอร์ (24) 5 ไมโครโฟน 6 แฟลซ (26) 7 แสงไฟช่วยโฟกัส (70)/ไฟตั้งเวลา (27) 8 ห่วงสำหรับสายคล้องไหล่ 9 เลนส์
ส่วนประกอบของกล้อง
1
2
6
7 8
9
0
qj
qh
qg qf
3 4
5
qd
qs
qa
1 กรณีถ่ายภาพ: W/T (ปุ่มปรับซูม) (25)
กรณีดูภาพ: ปุ่ม / (ซูมภาพที่แสดง) /ปุ่ม (ดัชนี) (33, 34)
2 ปุ่ม (เล่นภาพ) (33) 3 หน้าจอ LCD (21)
4 ปุ่ม MENU (39) 5 ปุ่ม HOME (37) 6 ห่วงสำหรับสายคล้องไหล่ 7 ฝาปิดช่องต่อ 8 ตัวเชื่อมต่อหลายจุด
ใช้สำหรับการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้:
• เชื่อมต่อ USB ระหว่างตัวกล้องกับ เครื่องคอมพิวเตอร์
• เชื่อมต่อสัญญาณเสียง/ภาพ บนหน้าจอทีวี
• เชื่อมต่อกับเครื่องพิมพ์สำหรับ PictBridge
15
9 ช่องต่อ DC IN
เมื่อใช้อุปกรณ์แปลงไฟ AC AC-LS5K (ไม่ได้ให้มาด้วย)
เครื่องหมาย v
1 ไปยังช่องต่อ
DC IN
2 ไปยังเต้าเสียบผนัง
• ท่านไม่สามารถชาร์จก้อนแบตเตอรี่โดย เชื่อมต่อกล้องถ่ายภาพเข้ากับอุปกรณ์แปลง ไฟ AC รุ่น AC-LS5K ให้ใช้เครื่องชาร์จ แบตเตอรี่ (ที่ให้มาด้วย) เพื่อชาร์จก้อน แบตเตอรี่
q; ปุ่มควบคุม แสดงเมนู: v/V/b/B/z (39) ไม่แสดงเมนู: DISP/ / / (21, 26)
ขณะปุ่มหมุนเลือกโหมดตั้งค่าเป็น M: ความเร็วชัตเตอร์/ค่าเปิดหน้ากล้อง (31)
qa ลำโพง (ด้านล่าง) qs ก้อนแบตเตอรี่/“Memory Stick Duo”
(ด้านล่าง)
qd ช่องต่อขาตั้งกล้อง (ด้านล่าง)
• ใช้ขาตั้งกล้องที่มีขนาดความยาวสกรูไม่ เกิน 5.5 มม. มิฉะนั้น ท่านจะไม่สามารถยึด กล้องเอาไว้ได้อย่างมั่นคง และอาจทำให้ เกิดความเสียหายกับกล้องได้
qf ช่องใส่แบตเตอรี่ qg ตัวล็อคแบตเตอรี่ qh ช่องเสียบ “Memory Stick Duo” qj ไฟแสดงการทำงาน
ส่วนประกอบของกล้อง
16
เลนส์ฮู้ด/วงแหวนปรับขนาด
1 เลนส์ฮู้ด 2 วงแหวนปรับขนาด
การติดตั้งเลนส์ฮู้ด
เมื่อถ่ายภาพในบริเวณที่มีแสงจ้ามาก อย่างเช่นเมื่ออยู่กลางแจ้ง ขอแนะนำให้ท่าน ใช้เลนส์ฮู้ดเพื่อลดการเปลี่ยนแปลงคุณภาพ ของภาพอัน เนื่องมาจากแสงที่ไม่จำเป็น
1 ติดตั้งวงแหวนปรับขนาดในขณะที่ยังไม่เปิด
สวิตช์กล้อง
2 จัดวางเลนส์ฮู้ดตามที่แสดงด้านล่าง
และหมุนเลนส์ฮู้ดไปตามทิศทางของเข็ม นาฬิกาจนกระทั่งมีเสียงคลิก
ส่วนประกอบของกล้อง
• ท่านสามารถปิดฝาปิดเลนส์ได้แม้จะมีเลนส์ฮู้ด ติดตั้งอยู่
• ในการใช้งานเลนส์ฮู้ด ให้ระมัดระวังกรณี ต่อไปนี้ :
– แสงไฟช่วยโฟกัสอาจถูกบัง – แสงไฟแฟลชอาจถูกบัง ทำให้เกิดเงาขึ้นบน
ภาพเมื่อท่านใช้ไฟแฟลชภายใน
การเก็บรักษาเลนส์ฮู้ด
ท่านสามารถติดตั้งเลนส์ฮู้ดแบบกลับข้าง เพื่อเก็บรักษาไว้กับกล้องถ่ายภาพ เมื่อ ไม่ได้ใช้งาน
โดยให้จัดวางเลนส์ฮู้ดตามที่แสดงด้านล่าง และหมุนเลนส์ฮู้ดไปตามทิศทางของเข็ม นาฬิกาจนกระทั่งมีเสียงคลิก
การติดตั้งเลนส์เสริม (ไม่ได้ให้มาด้วย)
ให้ติดตั้งเลนส์เสริมในกรณีที่ท่านต้องการ ถ่ายภาพมุมกว้างหรือซูมภาพวัตถุที่อยู่ที่ ระยะไกล
1 ติดตั้งวงแหวนปรับขนาด 2 ติดตั้งเลนส์เสริม
• ในการถ่ายภาพด้วยเลนส์แปลง ให้ทำการตั้งค่า [เลนส์เสริม] ให้เรียบร้อยก่อน (หน้า 72)
• ดูรายละเอียดเพิ่มเติมจากคู่มือการใช้งานที่ให้มา ด้วยกับเลนส์เสริมของท่าน
17
การกดปุ่ม v (DISP) บนปุ่มควบคุมแต่ละ ครั้งจะทำให้การแสดงผลบนจอภาพเปลี่ยน ไป (หน้า 21)
ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลข หน้าในเครื่องหมายวงเล็บ
เมื่อถ่ายภาพนิ่ง
 
เมื่อถ่ายภาพเคลื่อนไหว

พร้อม

1
จอภาพ ความหมาย
แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ เตือนแบตเตอรี่หมด (111)
ขนาดภาพ (41)
ปุ่มหมุนเลือกโหมด/Menu (เลือกบรรยากาศ) (28)
ปุ่มหมุนเลือกโหมด (23)
ตัวแสดงบนหน้าจอ
จอภาพ ความหมาย
อุณหภูมิสี (49)
โหมดถ่ายภาพ (43)
โหมดวัดแสง (46) ค้นหาภาพใบหน้า (42) SteadyShot (52)
• การตั้งค่าเริมต้นกำหนดให้ เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลง ครึ่งหนึ่ง ตัวแสดงหนึ่งจาก ตัวแสดงต่อไปนี้จะปรากฏ ขึ้น โดยขึ้นอยู่กับการตั้งค่า SteadyShot
เตือนมือสั่น
เตือนว่าความสั่นสะเทือนอาจ ทำให้ท่านไม่สามารถถ่ายภาพ ได้ชัดเจนเนื่องจากปริมาณแสง ไม่เพียงพอถึงแม้ว่าเครื่องหมาย เตือนมือสั่นจะปรากฏ ท่านก็ยัง สามารถถ่ายภาพได้ อย่างไรก็ตามขอแนะนำให้ท่าน เปิดฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอ และใช้แฟลซเพื่อให้ได้สภาพ แสงที่ดีขึ้นหรือใช้ขาตั้งกล้อง หรือวิธีการอื่นเพื่อช่วยยึดกล้อง ให้มั่นคง (หน้า 8)
ระดับการซูม (25, 71)
โหมดสี (44)
คอนทราสต์ (51) ความคมชัด (51)
18
3
จอภาพ ความหมาย
สื่อบันทึก (“Memory Stick Duo” , หน่วยความจำภายใน)
101
โฟลเดอร์บันทึก (63)
• ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำ ภายใน
96 จำนวนภาพที่บันทึกได้ 00:25:05 เวลาที่สามารถบันทึกได้
(ชั่วโมง : นาที : วินาที) แสงไฟช่วยโฟกัส (70) ลดตาแดง (50) โหมดแฟลช (26) กำลังชาร์จแฟลช เลนส์เสริม (72)
4
จอภาพ ความหมาย C:32:00 แสดงการวิเคราะห์อัตโต
มัติ (111) ตั้งเวลาบันทึกภาพ (27)
+
จุดเล็งวัตถุ (46) กรอบค้นหาระยะ AF (47)
ฮิสโตแกรม (21)
ตัวแสดงบนหน้าจอ
2
จอภาพ ความหมาย
โหมดตั้งค่าระดับแสงด้วย ตนเอง (31)
z RETURN z SET
คำแนะนำระบบสำหรับตั้งค่า ระดับแสงด้วยตนเอง (31)
1.0m ระยะโฟกัสที่ตั้งไว้ (47)
z
การล็อค AE/AF (24)
พร้อม บันทึก
เตรียมพร้อมภาพ เคลื่อนไหวบันทึกภาพ เคลื่อนไหว
ISO400 ค่า ISO (45)
NR slow ชัตเตอร์
• เมื่อความเร็วชัตเตอร์ช้าลง กว่าค่าที่กำหนดไว้ใน สภาวะที่มีแสงน้อย ฟังก์ชั่น ชัตเตอร์ช้า NR (ลด สัญญาณรบกวน) จะเริ่มต้น ทำงานโดยอัตโนมัติเพื่อลด การรบกวนในภาพ
125 ความเร็วชัตเตอร์ F3.5 ค่าเปิดหน้ากล้อง +2.0EV ค่าระดับแสง (45) 0:12 ระยะเวลาบันทึก
(นาที : วินาที) ตัวบอกกรอบค้นหาระยะ
AF (47) โฟกัส มาโคร (26)
19
เมื่อเล่นภาพนิ่ง
เมื่อเล่นภาพเคลื่อนไหว
1
จอภาพ ความหมาย
แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ ขนาดภาพ (41)
-
ป้องกัน (58)
เสียง เสียง (33)
เครื่องหมายสั่งพิมพ์ (DPOF) (99)
เชื่อมต่อ PictBridge (97)
1.3
ระดับการซูม (33) เชื่อมต่อ PictBridge (98)
• อย่าปลดสายเชื่อมต่อ อเนกประสงค์ที่เชื่อมต่ออยู่ ขณะที่ไอคอนปรากฏอยู่
2
จอภาพ ความหมาย
N
ดูภาพ (33) แถบเล่นภาพ
0:00:12 นับเวลา 101-0012 หมายเลขโฟลเดอร์–ไฟล์
(60)
2007 1 1 9:30 AM
วันที่/เวลา ขณะบันทึกของ ภาพที่แสดง
z STOP z PLAY
คำแนะนำระบบสำหรับการ เล่นภาพ
BACK/
NEXT
เลือกภาพ
V VOLUME
ปรับระดับเสียง ฮิสโตแกรม (21)
• เมื่อจอฮิสโตแกรมถูกปิด อยู่ รูป ปรากฏ
ตัวแสดงบนหน้าจอ
20
3
จอภาพ ความหมาย
สื่อสำหรับดูภาพ (“Memory Stick Duo” , หน่วยความจำภายใน)
101
โฟลเดอร์ดูภาพ (60)
• ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำ ภายใน
8/8 12/12 ลำดับภาพ/จำนวนภาพที่
ถูกบันทึกในโฟลเดอร์ที่ เลือก
เปลี่ยนโฟลเดอร์์ (60)
• ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำ ภายใน
โหมดวัดแสง (46) แฟลช อุณหภูมิสี (49)
C:32:00 แสดงการวิเคราะห์อัตโนมัติ
(111)
ISO400 ค่า ISO (45) +2.0EV ค่าระดับแสง (45) 500 ความเร็วชัตเตอร์ F3.5 ค่าเปิดหน้ากล้อง
ตัวแสดงบนหน้าจอ
21
การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ
ปุ่ม v (DISP) (เปลี่ยนหน้าจอ แสดงผล)
การกดปุ่ม v (DISP) บนปุ่มควบคุมแต่ละ ครั้งจะทำให้การแสดงผลบนจอภาพ เปลี่ยนไปดังนี้ :
เปิดตัวแสดง
ฮิสโตแกรมเปิด*
ปิดตัวแสดง*
เปิดตัวแสดง*
ข้อมูลจะถูกแสดง ขณะเล่นภาพ
แสดงฮิสโตแกรม (หน้า 21)
*ความสว่างของไฟหลังจอ LCD เพิ่มขึ้น
• ถ้าท่านดูภาพในที่สว่างจ้า ให้ปรับความสว่างจอ LCD ให้สว่างขึ้น
อย่างไรก็ตามแบตเตอรี่อาจจะหมดลงอย่าง
รวดเร็ว ภายใต้เหตุการณ์แบบนี้
• ฮิสโตแกรมจะไม่ปรากฏในโหมดดังต่อไปนี้ :
ขณะถ่ายภาพ
– ขณะแสดงรายการเมนู – ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ขณะเล่นภาพ
– ขณะแสดงรายการเมนู – โหมดดัชนี – ขณะท่านใช้ซูมเล่นภาพ – ขณะท่านหมุนภาพนิ่ง – ระหว่างการรับชมภาพยนตร์
• ฮิสโตแกรมที่ปรากฏขึ้นระหว่างการถ่ายภาพและ การรับชมภาพอาจมีลักษณะที่แตกต่างกันอย่าง มากเมื่อ :
ถ่ายภาพโดยใช้แฟลซ ความเร็วชัตเตอร์ช้าหรือเร็ว
• ฮิสโตแกรมอาจจะไม่ปรากฏในกรณีที่ภาพถูก บันทึกด้วยกล้องอื่น
z การปรับค่า EV (ระดับแสง)
ด้วยตัวแสดงฮิสโตแกรม
A
B
มืด สว่าง
ฮิสโตแกรมเป็นกราฟที่แสดงความสว่างขอ งภาพ กดปุ่ม v (DISP) บนปุ่มควบคุมซ้ำๆ เพื่อเลือกแสดงฮิสโตแกรมบนจอภาพ ถ้า กราฟเอียงไปด้านขวาจะบ่งบอกถึงภาพที่ สว่าง ถ้ากราฟเอียงไปด้านซ้ายจะบ่งบอก ถึงภาพที่มืด
A จำนวนพิกเซล B ความสว่าง
• ฮิสโตแกรมจะปรากฏได้ขณะเล่นภาพเดี่ยว แต่ท่านก็ไม่สามารถปรับระดับแสงได้
22
กล้องนี้มีหน่วยความจำภายในประมาณ 31 MB หน่วยความจำนี้ไม่สามารถถอดออกได้ ถึงแม้ไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ไว้ในกล้อง ท่านยังสามารถทำการถ่ายภาพได้ โดยใช้หน่วยความจำภายในนี้
• ภาพเคลื่อนไหวที่มีขนาด [640 (ละเอียด)] ไม่สามารถบันทึกได้ ขณะใช้หน่วยความจำภายใน
เมื่อใส่แผ่น “Memory Stick Duo”
[ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงใน “Memory Stick Duo”
[ดูภาพ]: เปิดดูภาพจาก “Memory Stick Duo” [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานได้หลายฟังก์ชั่นกับ
ภาพใน “Memory Stick Duo”
เมื่อไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo”
[ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงในหน่วยความจำ ภายใน
[ดูภาพ]: เปิดดูภาพจากหน่วยความจำภายใน [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานหลายฟังก์ชั่นได้กับ
ภาพในหน่วยความจำภายใน
หมายเหตุภาพที่ถูกบันทึกในหน่วยความจำภายใน
ขอแนะนำให้ท่านทำการคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลเสมอ ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งต่อไปนี้
การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยัง “Memory Stick Duo”
เตรียมแผ่น “Memory Stick Duo” ที่มีเนื้อที่ว่างเหลืออยู่อย่างเพียงพอ จากนั้นทำตามขั้นตอน ที่ปรากฏอยู่ใน [คัดลอก] (หน้า 65)
การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยังฮาร์ดดิสก์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน
ทำตามขั้นตอนในหน้า 84, 85 หรือ 88, 89 โดยไม่ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ใน กล้องถ่ายภาพ
• ท่านไม่สามารถคัดลอกข้อมูลภาพจาก “Memory Stick Duo” เข้าสู่หน่วยความจำภายใน
• เมื่อเชื่อมต่อกล้องถ่ายภาพเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิ้ลสำหรับช่องต่ออเนกประสงค์ ท่าน สามารถคัดลอกข้อมูลภาพจากหน่วยความจำภายในไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้้ แต่ท่านไม่สามารถคัดลอก ข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังหน่วยความจำภายในได้
หน่วยความจำ
ภายใน
B
B
การใช้งานหน่วยความจำภายใน
การใช้งานเบื้องต้น
23
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้ปุ่มหมุนเลือกโหมด
ตั้งปุ่มหมุนเลือกโหมดไปยังฟังก์ชั่นที่ต้องการ
ปุ่มหมุนเลือกโหมด
: โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพได้อย่างง่ายดาย โดยกล้องทำการปรับค่าต่างๆ โดยอัตโนมัติ
t หน้า 24
: โหมดโปรแกรมอัตโนมัติ*
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพโดยกล้องทำการปรับแสงโดยอัตโนมัติ (ทั้งความเร็วชัตเตอร์
และขนาดช่องรับแสง)
: โหมดถ่ายภาพโดยปรับระดับแสงด้วยตนเอง*
ให้ท่านถ่ายภาพหลังจากปรับระดับแสงด้วยตนเอง (ทั้งความเร็วชัตเตอร์และค่าเปิด
หน้ากล้อง) t หน้า 31
: โหมดบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ให้ท่านสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียง t หน้า 24
/ / / / /SCN: โหมดเลือกบรรยากาศ
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพโดยใช้การตั้งค่าที่กำหนดไว้ก่อนแล้วสำหรับแต่ละซีนภาพ
ท่านสามารถเลือก , , , ในเมนูเมื่อตั้งปุ่มหมุนเลือกโหมดไปที่ SCN t หน้า 28
* ท่านยังสามารถเลือกการตั้งค่ารูปแบบต่างๆ ได้ผ่านทางเมนู (รายละเอียดของฟังก์ชั่นที่สามารถใช้งาน
ได้ t หน้า 40)
24
ปุ่มควบคุม
ปุ่มชัตเตอร์
ปุ่มซูม
ปุ่ม MENU
ปุ่ม HOME
ปุ่ม v/V/b/B
ปุ่ม DISP
ปุ่มมาโคร
ปุ่ม z
ปุ่มแฟลซ
ปุ่มตั้งเวลาอัตโนมัติ
ปุ่มหมุนเลือกโหมด
1 เลือกฟังก์ชันที่ต้องการจากปุ่มหมุนเลือกโหมด
ขณะถ่ายภาพนิ่ง (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ): เลือก ขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว: เลือก
2 จับกล้องถ่ายภาพ โดยให้ข้อศอกแนบเข้ากับลำตัวเพื่อให้ถือได้อย่างมั่นคง
วางตำแหน่งวัตถุให้อยู่ ตรงกึ่งกลางเฟรมโฟกัส
3 ถ่ายภาพด้วยปุ่มชัตเตอร์
ขณะถ่ายภาพนิ่ง:
1 กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อทำการโฟกัส
ตัวแสดง z (ล็อค AE/AF) (สีเขียว) จะกระพริบ จากนั้นมีเสียงบีปดังขึ้น ตัวแสดงหยุด กระพริบและยังคงสว่างอยู่่
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
การใช้งานเบื้องต้น
25
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
2 กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด
ล็อค AE/AF
ถ่ายภาพเคลื่อนไหว:
กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด เมื่อต้องการหยุดบันทึก ให้กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุดอีกครั้ง
ในกรณีที่ถ่ายภาพวัตถุที่โฟกัสได้ยาก
• ระยะถ่ายภาพวัตถุใกล้ที่สุดคือประมาณ 50 ซม. (W) 90 ซม. (T) ควรใช้โหมดถ่ายภาพระยะใกล้ (มาโคร) เมื่อทำการถ่าย ภาพวัตถุที่อยู่ใกล้กว่าระยะถ่ายภาพ (หน้า 26)
• ถ้าหากกล้องไม่สามารถทำการปรับโฟกัสได้โดยอัตโนมัติ ตัวแสดงการล็อค AE/AF จะกะพริบช้าลงและไม่ มีเสียงบีป อีกทั้งกรอบค้นหาระยะ AF จะหายไป ให้จัดภาพใหม่แล้วทำการโฟกัสอีกครั้งหนึ่ง
อาจทำการโฟกัสภาพได้ยากในสภาวะต่อไปนี้ :
– อยู่ในที่มืดและวัตถุอยู่ห่างออกไปมาก – มีความคอนทราสต์ระหว่างวัตถุและฉากหลังน้อย – มองวัตถุผ่านกระจก – วัตถุเคลื่อนที่เร็ว – มีแสงสะท้อนหรือแสงจากวัตถุที่มันวาว – วัตถุย้อนแสงหรือมีไฟกระพริบ
W/T
การปรับซูม
กด T เพื่อซูม กด W เพื่อซูมออก กดปุ่มลงช้าๆ เพื่อซูมภาพอย่างช้าๆ และกดปุ่มลงจนสุดเพื่อซูมภาพอย่างรวดเร็ว
• เมื่อปรับระดับการซูมสูงเกินกว่า 10× กล้องจะเริ่มใช้งานระบบซูมดิจิตอล ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการตั้ง ค่า [ซูมดิจิตอล] และคุณภาพของภาพ ดูหน้า 71
• ท่านไม่สามารถเปลี่ยนระดับการซูมขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว
26
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
แฟลช (การเลือกโหมดแฟลชสำหรับภาพนิ่ง)
กด B ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ
(ไม่ปรากฏตัวแสดง): แฟลซอัตโนมัติ
แฟลซจะติดสว่างเอง เมื่อปริมาณแสงมีไม่เพียงพอ (ค่าเริ่มต้น)
: บังคับใช้ไฟแฟลช
: ชัตเตอร์ช้า (บังคับใช้ไฟแฟลช)
ชัตเตอร์จะทำงานช้าลงในที่มืดเพื่อให้ถ่ายภาพฉากหลังที่อยู่ไกลเกินกว่าระยะแฟลชได้ อย่างชัดเจน
: บังคับไม่ใช้แฟลช
• ไฟแฟลชจะยกขึ้นและส่องสว่างโดยอัตโนมัติเมื่อใช้ไฟแฟลช ให้ปิดไฟแฟลชลงด้วยมือหลังจากใช้งาน
• ไฟแฟลชสว่างขึ้นสองครั้ง ซึ่งแสงแฟลชครั้งแรกใช้สำหรับปรับสภาพแสง
• ขณะกำลังชาร์จแฟลช จะปรากฏ
มาโคร (การถ่ายภาพระยะใกล้)
กดปุ่ม b ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ
(ไม่ปรากฏตัวแสดง): ไม่ใช้งานมาโคร
: ใช้มาโคร (ด้าน W: ประมาณ 2 ซม. หรือไกลกว่า, ด้าน T: ประมาณ 90 ซม. หรือไกลกว่า)
• ขอแนะนำให้ปรับซูมไว้ที่ตำแหน่งสุดขอบด้าน W
• ช่วงระยะการโฟกัสแคบลง และวัตถุทั้งชิ้นอาจไม่ถูกโฟกัสทั้งหมด
• ขณะถ่ายภาพระยะใกล้ ความเร็วในการปรับโฟกัสอัตโนมัติจะช้าลง
การใช้งานเบื้องต้น
27
การตั้งเวลาบันทึกภาพ
กด V ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ
(ไม่ปรากฏตัวแสดง): ไม่ใช้ระบบตั้งเวลา
: ใช้ระบบตั้งเวลา 10 วินาที
: ใช้ระบบตั้งเวลา 2 วินาที
เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ ไฟตั้งเวลาถ่ายภาพกระพริบพร้อมกับมีเสียงบีพจนกระทั่งชัตเตอร์เริ่มทำงาน
ไฟตั้งเวลา
ทำการยกเลิกโดยกด V ( ) อีกครั้งหนึ่ง
• ใช้การตั้งเวลา 2-วินาทีเพื่อป้องกันไม่ให้ภาพเบลอ ชัตเตอร์เริ่มทำงานหลังจากเวลาผ่านไป 2 วินาที ที่ ท่านกดปุ่มชัตเตอร์ ซึ่งช่วยลดการสั่นของกล้องถ่ายภาพจากการกดปุ่มชัตเตอร์ได้
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
28
ถ่ายภาพนิ่ง (แบบเลือกบรรยากาศ)
ปุ่มหมุนเลือกโหมด
ปุ่มชัตเตอร์
ปุ่มควบคุม
ปุ่ม MENU
ปุ่ม v/V/b/B
ปุ่ม z
เลือกโหมด ( / / / / ) ในปุ่มหมุนเลือกโหมด
1 เลือกโหมดเลือกบรรยากาศที่ต้องการ ( / / / / ) ด้วยปุ่มหมุนเลือก
โหมด
2 ทำการถ่ายภาพด้วยปุ่มชัตเตอร์
เลือกโหมด ( / / / ) ใน SCN
1 เลือก SCN จากปุ่มหมุนเลือกโหมด
2 กดที่ MENU จากนั้นเลือก / / / ด้วยปุ่ม b/B บนปุ่มควบคุม (หน้า 39)
3 ถ่ายภาพด้วยปุ่มชัตเตอร์
• ดูรายละเอียดของโหมดต่างๆ ที่หน้าถัดไป
ยกเลิกการเลือกบรรยากาศ
ตั้งปุ่มหมุนเลือกโหมดไปยังตำแหน่งอื่นๆ ที่ไม่ใช่โหมดเลือกบรรยากาศ
การใช้งานเบื้องต้น
29
โหมดเลือกบรรยากาศ
โหมดต่อไปนี้จะถูกตั้งค่าใหม่เพื่อให้เหมาะกับสภาวะของภาพ
โหมดเลือกจากปุ่มหมุนเลือกโหมด โหมดเลือกจากหน้าจอเมนู
ความไวแสงสูง
ให้ท่านถ่ายภาพโดยไม่ใช้ไฟ แฟลชภายใต้สภาพแสงน้อยเพื่อ ลดอาการภาพเบลอ
กลางคืน*
ให้ท่านสามารถถ่ายซีนภาพ กลางคืนจากระยะไกลได้โดยไม่ สูญเสียบรรยากาศความมืดของ สิ่งแวดล้อมโดยรอบ
หาดทราย
ให้ท่านสามารถบันทึกสีน้ำเงิน ของผืนน้ำได้อย่างชัดเจนเมื่อ ถ่ายภาพริมทะเลหรือริมทะเลสาบ
หิมะ
ให้ท่านสามารถบันทึกภาพได้ อย่างชัดเจน ป้องกันสีหม่นที่เกิด ขึ้นในซีนภาพหิมะ หรือในบริเวณ อื่นๆ ที่ภาพบนหน้าจอทั้งหมด ปรากฏขึ้นเป็นสีขาว
ดอกไม้ไฟ*
ให้ท่านบันทึกภาพดอกไม้ไฟได้ สวยงาม
• กรณีที่ท่านถ่ายภาพด้วยเลนส์ เสริม (ไม่ได้ให้มาด้วย) ท่าน อาจไม่สามารถบันทึกภาพพลุที่ สวยงามอลังการได้
ภาพซอฟท์
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพได้ใน
บรรยากาศที่นุ่มนวลขึ้นเหมาะกับ
ภาพคนและภาพดอกไม้ เป็นต้น
ถ่ายภาพเคลื่อนไหว
ขั้นสูง
เหมาะสำหรับการถ่ายภาพที่วัตถุ มีการเคลื่อนไหวเร็ว อย่างเช่น ภาพกีฬา
• ขณะที่กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่ง หนึ่ง กล้องจะทำการคาดคะเน การเคลื่อนไหวของวัตถุ พร้อมกับทำการปรับโฟกัส
บุคคลกลางคืน*
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพบุคคลที่ คมชัดได้ โดยมีบรรยากาศภาพ กลางคืนเป็นฉากหลัง โดยไม่ ทำให้บรรยากาศรอบๆ เสียไป
วิว
โฟกัสที่วัตถุที่อยู่ระยะไกลเท่านั้น
เพื่อการถ่ายภาพทิวทัศน์ หรืออื่นๆ
* เมื่อถ่ายภาพโดยใช้โหมด (บุคคลกลางคืน) , (กลางคืน) หรือโหมด (ดอกไม้ไฟ)
ความเร็วชัตเตอร์จะลดต่ำลง ทำให้เกิดภาพเบลอได้ง่ายขึ้น กรณีนี้จึงขอแนะนำให้ใช้ขาตั้งกล้อง
ถ่ายภาพนิ่ง (แบบเลือกบรรยากาศ)
30
ฟังก์ชั่นที่สามารถใช้ได้ในโหมดเลือกบรรยากาศ
การใช้งานร่วมกันของฟังก์ชั่นต่างๆ ถูกกำหนดโดยกล้องถ่ายภาพ เพื่อให้สามารถถ่ายภาพได้ อย่างเหมาะสมตามสภาพของซีนภาพ บางฟังก์ชั่นอาจไม่สามารถใช้งานได้ ขึ้นอยู่กับโหมด
เลือกบรรยากาศ
( : ที่สามารถเลือกการตั้งค่าที่ต้องการ)
มาโคร — แฟลช
/ / /
ค้นหาภาพ ใบหน้า
ถ่ายต่อเนื่อง/ ถ่ายคร่อม
EV อุณหภูมิสี
*
— ลดตาแดง — SteadyShot ตั้งเวลา
* ไม่สามารถเลือกใช้ [แฟลช] สำหรับ [อุณหภูมิสี]
ถ่ายภาพนิ่ง (แบบเลือกบรรยากาศ)
Loading...
+ 93 hidden pages