Sony DSC-H9 Users guide [th]

Vคลิก!
สารบัญ
การใช้งานเบื้องต้น
ใช้ฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
กล้องบันทึกภาพนิ่งระบบดิจิตอล
คู่มือ Cyber-shot
DSC-H7/H9
ก่อนเริ่มใช้งานกล้องถ่ายภาพ โปรด อ่านคู่มือฉบับนี้อย่างละเอียดพร้อม กับ
คำแนะนำการใช้งาน
คู่มือพัฒนาการใช้งาน Cyber­shot”
และเก็บรักษาไว้เพื่อใช้อ้าง
อิงในภายหน้า
และ
การใช้ฟังก์ชั่นดูภาพ
การใช้งานหน้าจอตั้งค่า
รับชมภาพบนทีวีี
การใช้งานคอมพิวเตอร์
การพิมพ์ภาพนิ่ง
การแก้ไขปัญหา
ข้อมูลเพิ่มเติม
ดัชนีคำศัพท์
© 2007 Sony Corporation 3-196-622-42(1)
TH
ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน
ชนิดของ “Memory Stick” ที่ใช้งานได้ (ไม่ได้ให้มาด้วย)
ชนิดของแผ่น IC บันทึกข้อมูล ที่ใช้ได้กับ กล้องนี้ คือ “Memory Stick Duo” “Memory Stick” มีอยู่สองชนิด คือ
“Memory Stick Duo” : กล้อง นี้ใช้งานได้กับแผ่นหน่วยความจำ
“Memory Stick Duo”
“Memory Stick” : แผ่น
หน่วยความจำ “Memory Stick” ไม่สามารถใช้งานได้กับกล้องนี้ี้
แผ่นหน่วยความจำชนิดอื่นไม่ สามารถใช้งานได้
ศึกษารายละเอียด “Memory Stick Duo” หน้า
129
การใช้งาน “Memory Stick Duo” กับอุปกรณ์ที่ใช้ “Memory Stick”
สามารถทำได้โดยเสียบแผ่น “Memory Stick Duo” เข้าไปในตัวแปลง Memory Stick Duo (ไม่ได้ให้มาด้วย)
ศึกษารายละเอียดการใช้งานแบตเตอรี่ ดูหน้า
131
เลนส์ Carl Zeiss
กล้องชนิดนี้ได้ติดตั้งเลนส์ Carl Zeiss ซึ่งสามารถถ่ายภาพและได้คอนทราสต์ อย่างคมชัด เลนส์สำหรับกล้องชนิดนี้ถูกผลิตขึ้น ภายใต้การรับรองมาตรฐานของ Carl Zeiss เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพของ Carl Zeiss ของประเทศเยอรมัน
ข้อสังเกตสำหรับจอภาพ LCD ช่องมองภาพ LCD และเลนส์
หน้าจอ LCD และช่องมองภาพ LCD ถูกผลิตขึ้นโดย ใช้เทคโนโลยีที่มีความแม่นยำสูงมาก เพื่อให้ได้จุด ภาพที่ใช้งานได้มากกว่า 99.99% อย่างไรก็ตาม บนหน้าจอ LCD และช่องมองภาพ LCD อาจจะมีจุด เล็กๆที่ มืด และ/หรือ สว่าง (สีขาว, แดง, น้ำเงินหรือ เขียว) ตลอดเวลาอยู่บ้าง การเกิดจุดเหล่านี้เป็นเรื่อง ปกติในขั้นตอนการผลิต และไม่ส่งผลกระทบต่อภาพ ที่บันทึกแต่อย่างใด
จุดมืด ขาว แดง น้ำเงิน หรือเขียว
อย่าถือกล้องโดยการจับที่หน้าจอ LCD
ตัวแปลง Memory Stick Duo
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบตเตอรี่
• ควรชาร์จแบตเตอรี่ (ที่ให้มาด้วย) ให้เต็มในครั้ง แรกก่อนใช้งานกล้อง
• ขณะที่แบตเตอรี่ยังไม่หมด แบตเตอรี่แพค สามารถชาร์จไฟต่อได้ ถึงแม้ว่าแบตเตอรี่ไม่ถูก ชาร์จจนเต็ม ท่านก็ยังสามารถใช้งานตัวกล้องได้
• ถ้าท่านไม่ตั้งใจจะใช้แบตเตอรี่เป็นระยะเวลานาน ให้ใช้แบตเตอรี่จนหมดและถอดออกจาก ตัวกล้อง แล้วเก็บไว้ที่แห้งและเย็น ซึ่งจะรักษา อายุการใช้งานของแบตเตอรี่
2
• การปล่อยให้แสงแดดส่องบนหน้าจอ LCD, ช่องมอง LCD หรือเลนส์โดยตรงเป็นระยะเวลา นาน อาจจะทำให้เกิดความเสียหายได้ ควรใช้ ความระมัดระวังเมื่อวางกล้องใกล้หน้าต่างหรือ ในที่กลางแจ้ง
อย่าออกแรงกดบนหน้าจอ LCD หน้าจออาจจะ เปลี่ยนสีซึ่งอาจจะทำให้เกิดความเสียหายได้
ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน
• ในสถานที่ที่มีอุณหภูมิต่ำ อาจจะมีภาพตกค้าง บนหน้าจอ LCD ไม่ได้แสดงว่ากล้องทำงานผิด ปกติ
ระมัดระวังอย่ากระแทกเลนส์และอย่าออก แรงกดบนเลนส์
รูปภาพที่ใช้ในหนังสือคู่มือนี้้
ภาพถ่ายที่ใช้เป็นภาพตัวอย่างในหนังสือคู่มือนี้ เป็นภาพที่สร้างขึ้นมา ไม่ใช่ภาพที่ถ่ายจริงโดย กล้องรุ่นนี้แต่อย่างใด
รายละเอียดของภาพประกอบ
ภาพประกอบที่ใช้ในหนังสือคู่มือเล่มนี้เป็นของ กล้องรุ่น DSC-H7 เว้นแต่จะมีการระบุไว้เป็น อย่างอื่น
3
สารบัญ
ข้อสังเกตในการใช้งานกล้องของท่าน ...................................................... 2
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า ............................................................... 8
โฟกัส – โฟกัส การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี ............................................................8
ระดับแสง – ระดับแสง การปรับความเข้มของแสง .............................................. 10
สี – อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง .................................................................. 12
ของภาพ คุณภาพ – คุณภาพ “คุณภาพ” และ “ขนาด” ของภาพ ........................... 12
แฟลช – การใช้งานแฟลช ............................................................................ 14
ส่วนประกอบของกล้อง ........................................................................ 15
ตัวแสดงบนหน้าจอ ............................................................................. 20
การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ ............................................................. 24
การใช้งานหน่วยความจำภายใน ............................................................ 25
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้ปุ่มหมุนเลือกโหมด .................................................................... 26
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ) ............................................... 27
ถ่ายภาพนิ่ง (แบบเลือกบรรยากาศ) ........................................................ 31
การถ่ายภาพในที่มืด (Night Shot) (เฉพาะ DSC-H9) ................................ 34
การใช้แป้นหมุนเลือกโหมด .................................................................. 35
การถ่ายภาพโดยปรับค่าแบบแมนนวล ..................................................... 36
การถ่ายภาพด้วยระบบเลื่อนโปรแกรม ถ่ายภาพโดยใช้โหมดกำหนดความเร็วชัตเตอร์ ถ่ายภาพโดยใช้โหมดกำหนดค่าเปิดหน้ากล้อง ถ่ายภาพโดยใช้โหมดกำหนดระดับแสงเอง
ISO: เลือกความไวแสง EV: ปรับระดับความเข้มของแสง
โฟกัส: การเปลี่ยนวิธีโฟกัส
การดูภาพ ......................................................................................... 43
การลบภาพ ....................................................................................... 45
เรียนรู้ฟังก์ชั่นอื่นๆ – HOME/เมนู ........................................................... 47
รายการในเมนู ................................................................................... 50
4
สารบัญ
ใช้ฟังก์ชั่นถ่ายภาพ
เมนูการถ่ายภาพ
เลือกบรรยากาศ: เลือกบรรยากาศ: การเลือกโหมดบรรยากาศ ขนาดภาพ: การเลือกขนาดภาพ ค้นหาภาพใบหน้า: การค้นหาใบหน้าบนวัตถุ โหมดถ่ายภาพ: เลือกวิธีการถ่ายภาพต่อเนื่อง โหมดสี: เปลี่ยนความสว่างของภาพหรือเพิ่มเอฟเฟ็คพิเศษ โหมดวัดแสง: เลือกโหมดวัดแสง อุณหภูมิสี: ปรับโทนสี ระดับแฟลช: ปรับค่าปริมาณแสงแฟลช ลดตาแดง: ลดปรากฏการณ์ตาแดง คอนทราสต์: ปรับค่าคอนทราสต์ของภาพ ความคมชัด: ปรับความคมชัดของภาพ
SteadyShot: การเลือกโหมด ป้องกันการเบลอ SETUP: เลือกการตั้งค่าถ่ายภาพ
............................................................................... 51
การใช้ฟังก์ชั่นดูภาพ
การเล่นภาพจากหน้าจอ HOME
(ดูภาพเดี่ยว): เล่นภาพเดี่ยว
(หน้าจอดัชนี): เล่นแบบแสดงรายการภาพ (สไลด์โชว์): เล่นสไลด์โชว์
เมนูดูภาพ
...................................................................................... 65
(ลบ): ลบภาพ
(สไลด์โชว์): เล่นสไลด์โชว์
(ปรับแต่ง): ปรับแต่งภาพนิ่งหลังถ่ายภาพ
(ป้องกัน) : ป้องกันการลบภาพโดยไม่ตั้งใจ
: ใส่เครื่องหมายสั่งพิมพ์
(พิมพ์): พิมพ์ภาพด้วยเครื่องพิมพ์ (หมุนภาพ): หมุนภาพนิ่ง (เลือกโฟลเดอร์): เลือกโฟลเดอร์ดูภาพ
..................................................... 62
การใช้งานหน้าจอตั้งค่า
การกำหนดการตั้งค่าเอง กำหนดการจัดการหน่วยความจำและตั้ง ค่าเอง
............................................................................................ 70
จัดการหน่วยความจำ
เครื่องมือหน่วยความจำ - จัดการ Memory Stick .................................. 72
ฟอร์แมต สร้างโฟลเดอร์ เปลี่ยนโฟลเดอร์ คัดลอก
................................................................ 72
5
สารบัญ
เครื่องมือหน่วยความจำ - จัดการหน่วยความจำภายใน ........................... 74
ฟอร์แมต
ตั้งค่า
ตั้งค่าหลัก - ตั้งค่าหลัก 1 ................................................................ 75
เสียงบีป ใช้ค่าเริ่มต้น คำแนะนำระบบ
ตั้งค่าหลัก - ตั้งค่าหลัก 2 ................................................................. 76
เชื่อมต่อ USB สัญญาณวีดีโอ
COMPONENT
ตั้งค่าถ่ายภาพ - ตั้งค่าถ่ายภาพ 1 ...................................................... 78
แสงไฟช่วย AF ซูมดิจิตอล เส้นตาราง เลนส์เสริม โหมด AF
ตั้งค่าถ่ายภาพ - ตั้งค่าถ่ายภาพ 2 ...................................................... 81
แฟลชซิงค์ แสดงภาพอัตโนมัติ หมุนภาพอัตโนมัติ โฟกัสขยาย
ตั้งเวลานาฬิกา .............................................................................. 83
Language Setting ........................................................................ 84
รับชมภาพบนทีวีี
........................................................................................ 75
รับชมภาพบนทีวีี ................................................................................ 85
การดูภาพโดยเชื่อมต่อกล้องเข้ากับทีวีกับสายที่ให้มาด้วยสำหรับการเชื่อมต่ออเนกประ สงค์
ชมภาพโดยเชื่อมต่อกล้องเข้ากับ HDTV
การใช้งานคอมพิวเตอร์
สนุกกับคอมพิวเตอร์ระบบ Windows ...................................................... 88
การติดตั้งซอฟต์แวร์ (ที่ให้มาด้วย) ........................................................ 90
การคัดลอกภาพลงสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ .................................................. 91
การดูไฟล์ภาพที่เก็บอยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์
ด้วยกล้อง (โดยใช้ “Memory Stick Duo”) .............................................. 97
การใช้งานโปรแกรม “Picture Motion Browser” (ที่ให้มาด้วย) ................... 98
การใช้ “Music Transfer” (ที่ให้มาด้วย) .................................................104
การใช้งานคอมพิวเตอร์ระบบ Macintosh ................................................105
6
สารบัญ
การพิมพ์ภาพนิ่ง
วิธีการพิมพ์ภาพนิ่ง ............................................................................ 107
การพิมพ์ภาพโดยตรงด้วยเครื่องพิมพ์ที่ใช้งานได้กับ PictBridge ................. 108
การสั่งพิมพ์ที่ร้าน .............................................................................. 111
การแก้ไขปัญหา
การแก้ไขปัญหา ...............................................................................113
สัญลักษณ์และข้อความเตือน ............................................................... 125
ข้อมูลเพิ่มเติม
การใช้งานกล้องในต่างประเทศแหล่งไฟฟ้า .......................................128
ข้อมูลสำหรับ “Memory Stick” ............................................................129
ข้อมูลสำหรับก้อนแบตเตอรี่ ................................................................. 131
ข้อมูลสำหรับที่ชาร์จแบตเตอรี่ .............................................................132
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ....................................................................................133
7
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
โฟกัส ระดับแสง สี คุณภาพ แฟลช
หัวข้อนี้จะอธิบายถึงพื้นฐานการใช้งานกล้อง ของท่าน โดยจะกล่าวถึงการใช้งานฟังก์ชั่นต่างๆ เช่น ปุ่มหมุนเลือกโหมด (หน้า 26) แป้นหมุน เลือกโหมด (หน้า 35) หน้าจอ HOME (หน้า 47) เมนู (หน้า 49)และฟังก์ชั่นอื่นๆ
โฟกัส
เมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่ง กล้องจะทำการปรับโฟกัสโดยอัตโนมัติ (โฟกัสอัตโนมัติ) กรุณาจำไว้ว่าให้กดปุ่มชัตเตอร์ลงเพียงครึ่งหนึ่ง
ในการถ่ายภาพนิ่งที่โฟกัสได้ยาก t [โฟกัส] (หน้า 40) ถ้าหากทำการโฟกัสแล้วภาพยังออกมาดูเบลอมัว อาจจะเกิดจากการสั่นสะเทือนของกล้อง t ดู “คำแนะนำเพื่อป้องกันภาพเบลอ” (ข้างล่างนี้)
โฟกัส การโฟกัสวัตถุให้ได้ผลดี
กดชัตเตอร์ลง จนสุดทันที
กดปุ่มชัตเตอร์ลง ครึ่งหนึ่ง
ตัวแสดงการล็อค AE/AF กะพริบ , ติดนิ่ง/เสียงบีป
จากนั้นจึงกดปุ่ม ชัตเตอร์ลงจน สุด
8
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
คำแนะนำเพื่อป้องกันภาพเบลอ
กล้องเคลื่อนไหวขณะท่านถ่ายภาพ เรียกว่า “กล้องสั่น” ในขณะที่ ถ้าวัตถุเคลื่อนที่ขณะ ท่านถ่ายภาพ เรียกว่า “วัตถุเบลอ”
กล้องสั่น
สาเหตุ
มือหรือร่างกายสั่นขณะท่านตั้งกล้องและกดปุ่ม ชัตเตอร์ และภาพทั้งหมดก็จะเบลอ
ท่านสามารถลดการเบลอได้โดย
• ใช้ขาตั้งกล้อง หรือวางกล้องในที่ระนาบ พื้นผิว ที่มั่นคง เพื่อตั้งกล้องได้อย่างมั่นคง
• ถ่ายด้วยการตั้งเวลา 2 วินาที และยึดตัวกล้องให้ มั่นคงโดยยึดกับแขนด้านข้าง จากนั้นให้กดปุ่ม ชัตเตอร์
วัตถุเบลอ
สาเหตุ
แม้ว่ากล้องจะมั่นคงดีแล้ว แต่วัตถุเคลื่อนไหว ระหว่างวัดแสง เมื่อกดชัตเตอร์ ทำให้วัตถุนั้น เบลอได้
ท่านสามารถลดการเบลอได้โดย
• เลือก (โหมดความไวแสงสูง) ในโหมดเลือก บรรยากาศ
เลือกความไวแสงที่สูงขึ้นเพื่อให้ความเร็ว ชัตเตอร์เร็วขึ้น และกดชัตเตอร์ก่อนวัตถุจะ เคลื่อนไหว
ข้อสังเกต
• ฟังก์ชันป้องกันการเบลอถูกเปิดใช้งานอยู่แล้วตามการตั้งค่าเริ่มต้น ดังนั้นถ้ากล้องสั่น จะลดการเบลอ อย่างอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผลกับวัตถุที่เบลออยู่แล้ว
• นอกเหนือจาก กล้องสั่นและวัตถุเบลอเกิดขึ้นบ่อยครั้ง ภายใต้สภาวะแสงน้อยหรือความเร็วชัตเตอร์ต่ำ เช่น โหมดกลางคืน หรือบุคคลกลางคืน ในกรณีนี้ให้ถ่ายภาพตามคำแนะนำด้านบน
9
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
ระดับแสง
ท่านสามารถถ่ายให้ได้ภาพแตกต่างกันได้โดยทำการปรับระดับแสงและความไวแสง ISO ระดับแสงคือปริมาณแสงที่กล้องได้รับเมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์
ระดับแสง การปรับความเข้มของแสง
ระดับแสง:
ระดับแสงสูง
= ปริมาณแสงมากเกินไป ภาพสว่างขาว
ระดับแสงพอเหมาะ กำหนดระดับแสงเอง:
ระดับแสงต่ำ
= ปริมาณแสงน้อยเกินไป ภาพมืด
ความเร็วชัตเตอร์ = ระยะเวลาที่กล้องได้รับแสง
เปิดหน้ากล้อง = ขนาดของช่องเปิดที่ให้แสงผ่านเข้า
มาได้
ISO (ดัชนีการเปิดรับแสงที่แนะนำ)
= ความไวแสงที่บันทึกภาพ
ระดับแสงจะถูกปรับให้เหมาะสมโดย อัตโนมัติในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตามท่านสามารถทำการปรับแก้ไข ด้วยตนเองได้ โดยใช้คุณสมบัติข้างล่างนี้
ท่านสามารถปรับความเร็วชัตเตอร์และค่าเปิด หน้ากล้องได้ด้วยตนเอง (หน้า 38)
ปรับค่า EV:
ให้ท่านเลือกปรับแก้ไขจากค่าระดับแสงที่ กล้องคำนวณไว้แล้ว (หน้า 24, 40)
โหมดวัดแสง:
ให้ท่านเลือกเปลี่ยนตำแหน่งบนวัตถุที่ใช้วัด เพื่อคำนวณหาค่าระดับแสง (หน้า 56)
10
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
คำแนะนำสำหรับระดับแสง (EV)
เมื่อถ่ายภาพที่มีพื้นขาวเกือบทั้งหมด เช่น วัตถุเปล่งแสง หรือหิมะ กล้องจะตัดสินเองว่า วัตถุนั้นสว่าง และอาจตั้งค่าระดับแสงที่มืดกว่าให้ภาพ ในกรณีเช่นนี้ การปรับระดับแสงใน ทิศทาง + (บวก) จะได้ผลดี
ปรับไปในทิศทาง +
ขณะถ่ายภาพที่มีพื้นมืดเกือบทั้งหมด กล้องจะตัดสินเองว่าวัตถุนั้นมืด และอาจตั้งระดับแสง ที่สว่างกว่าให้ภาพ ในกรณีเช่นนี้ การปรับระดับแสงในทิศทาง – (ลบ) จะได้ผลดี
ปรับไปในทิศทาง –
ท่านสามารถตรวจสอบการปรับแสงได้โดยดูจากกราฟฮิสโตแกรม ระวังอย่าปรับจนภาพได้ รับแสงมากหรือน้อยเกินไป (ซึ่งจะได้ภาพขาวสว่างหรือดำมืดไป)
การปรับความไวแสง ISO (ดัชนีการเปิดรับแสงที่แนะนำ)
ความไวแสง ISO คือ ระดับความเร็วในการบันทึกภาพ เมื่อตัวรับภาพได้รับแสง ถึงแม้ระดับ แสงเท่าเทียมกัน ภาพที่ถ่ายออกมาอาจจะแตกต่างกันได้ โดยขึ้นกับค่าความไวแสง ISO นี้ วิธีการปรับความไวแสง ISO, ดูหน้า 39
ความไวแสง ISO สูง
ได้ภาพออกมาสว่าง ถึงแม้จะถ่ายในที่มืด อย่างไรก็ตาม ภาพมีแนวโน้มที่จะมีจุดรบกวนมากขึ้น
ความไวแสง ISO ต่ำ
ได้ภาพที่สะอาดกว่า อย่างไรก็ตาม ภาพอาจจะมืดลงในกรณีที่ระดับแสงไม่เพียงพอ
11
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
สี
สีของวัตถุที่ปรากฏในภาพ จะได้รับอิทธิพลจากสภาพแสง
อิทธิพลของแหล่งกำเนิดแสง
ตัวอย่าง : สีของภาพได้รับอิทธิพลจากแหล่งกำเนิดแสง ดังนี้
สภาพอากาศ/ แหล่งกำเนิดแสง
คุณลักษณะของ แสง
โทนสีจะถูกปรับอัตโนมัติในโหมดตั้งค่าอัตโนมัติ อย่างไรก็ตาม ท่านสามารถปรับโทนสีด้วยตนเอง โดยใช้ [อุณหภูมิสี] (หน้า 57)
คุณภาพ
ภาพถ่ายดิจิตอลประกอบขึ้นจากกลุ่มจุดภาพเล็กๆที่เรียกว่าพิกเซล ภาพที่มีจำนวนพิกเซลมาก จะมีขนาดใหญ่ ใช้เนื้อที่หน่วยความจำมากขึ้นและมีรายละเอียดของภาพสูง “ขนาดภาพ” ถูกกำหนดโดยจำนวนพิกเซล ถึงแม้ท่านจะไม่เห็นความแตกต่างบนหน้าจอของกล้อง รายละเอียดเล็กน้อยและเวลาที่ใช้ในการประมวลภาพจะแตกต่าง เมื่อท่านนำภาพนั้นไปพิมพ์ หรือแสดงบนหน้าจอเครื่องคอมพิวเตอร์
แสงแดงกลางวัน แสงแดงมีเมฆ ฟลูออเรสเซนซ์ แสงหลอดไฟฟ้า
สีขาว (มาตรฐาน)
สีออกน้ำเงิน สีเขียวอ่อน สีออกแดง
คุณภาพคุณภาพและขนาดของภาพ
คำอธิบายพิกเซลและขนาดภาพ
1 ขนาดภาพ: 8M
3264 พิกเซล × 2448 พิกเซล = 7,990,272 พิกเซล
พิกเซล
2 ขนาดภาพ : VGA
640 พิกเซล
×
480 พิกเซล = 307,200 พิกเซล
เลือกขนาดภาพที่ต้องการใช้ (หน้า 13)
พิกเซล
12
จำนวนพิกเซลมาก
(คุณภาพของภาพละเอียด และขนาดไฟล์ภาพใหญ่)
จำนวนพิกเซลน้อย (คุณภาพของภาพหยาบ
และขนาดไฟล์ภาพเล็ก)
ตัวอย่าง: สำหรับ พิมพ์ถึงขนาด A3
ตัวอย่าง: ภาพ สำหรับส่งแนบไปกับ อีเมล์
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
ค่าติดตั้งเริ่มต้นจะถูกแสดงด้วยเครื่องหมาย
ขนาดภาพ คำแนะนำ จำนวนภาพ พิมพ์ภาพ
8M (3264×2448)
3:21) (3264×2176)
5M (2592×1944)
3M (2048×1536)
VGA (640×480)
สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด A3 น้อย ถ่ายภาพที่อัตราส่วน 3:2
สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด A4 สำหรับพิมพ์ที่ขนาดใหญ่สุด
10x15 ซม หรือ 13x18 ซม บันทึกภาพขนาดเล็กสำหรับส่งแนบ
ไปกับ e-mail
ละเอียด
มาก
16:92) (1920×1080)
1) ภาพที่บันทึกด้วยอัตราส่วน 3:2 เช่น กระดาษพิมพ์รูปถ่าย หรือ ไปรษณียบัตร ฯลฯ
2) มุมของภาพอาจถูกตัดออกได้ ขณะที่กำลังพิมพ์ (หน้า 122)
ขนาดภาพเคลื่อนไหว เฟรม/วินาที คำแนะนำการใช้งาน 640 (ละเอียด) (640×480)
640 (ปกติ) (640×480)
320 (320×240)
ขนาดภาพที่ใหญ่ขึ้น คุณภาพของภาพสูงขึ้นด้วย
จำนวนเฟรม/วินาที ที่มากกว่า จะทำให้การแสดงภาพราบรื่นขึ้น
ถ่ายภาพที่อัตราส่วน HDTV
ประมาณ 30 ถ่ายภาพเคลื่อนไหวคุณภาพสูงสำหรับแสดง
หน้าจอบนทีวี
ประมาณ 17 ถ่ายภาพเคลื่อนไหวคุณภาพปกติสำหรับแสดง
หน้าจอบนทีวี
ประมาณ 8 บันทึกภาพขนาดเล็กสำหรับส่งแนบไปกับ
e-mail
หยาบ
13
เทคนิคพื้นฐานเพื่อภาพที่ดีกว่า
แฟลช
การใช้งานแฟลช
ตาของวัตถุอาจกลายเป็นสีแดง หรือจุดสีขาวกลม อาจปรากฏบนภาพเมื่อใช้แฟลช ปรากฏการณ์เหล่านี้สามารถลดได้โดยทำตามขั้นตอนต่อไปนี้
ปรากฏการณ์ตาแดง
สาเหตุที่เกิดขึ้นเพราะการสะท้อนของแสงแฟลชกับเรตินาในเส้นเลือดของตา เนื่องจากรู ม่านตาเปิดกว้างขึ้นเมื่ออยู่ในที่มืด
กล้อง ตา
เรตินา
สามารถลดปรากฏการณ์ตาแดงได้อย่างไร
ตั้งค่า [ลดตาแดง] เป็น [เปิด] (หน้า 59)
เลือก
ขณะที่ตาของวัตถุเปลี่ยนเป็นสีแดง ให้แก้ไขภาพด้วย [ปรับแต่ง] ในเมนูดูภาพ (หน้า 65) หรือกับ
(โหมดความไวแสงสูง)* ในโหมดเลือกบรรยากาศ (หน้า 32) (แฟลชจะถูกปิดลงอัตโนมัติ)
ซอฟท์แวร์ที่ให้มาด้วย “Picture Motion Browser”
จุดสีขาวกลม
สาเหตุที่เกิดขึ้นเพราะอนุภาค (ฝุ่น, เรณู, เป็นต้น) ในอากาศ ที่อยู่ใกล้กับเลนส์ แสงแฟลชของ กล้องสามารถทำให้เกิดปรากฏการณ์ดังกล่าวได้
กล้อง วัตถุ
อนุภาค (ฝุ่น,
เรณู, เป็นต้น)
ในอากาศ
สามารถลดจุดสีขาวกลมได้อย่างไร?
เปิดไฟห้อง และถ่ายภาพวัตถุโดยไม่ใช้แฟลช
เลือก
* ถึงแม้ว่าท่านเลือก
(โหมดความไวแสงสูง)* ในโหมดเลือกบรรยากาศ (แฟลชจะปิดอัตโนมัติ)
(โหมดความไวแสงสูง) ในโหมดเลือกบรรยากาศ ความเร็วชัตเตอร์อาจจะช้าลง
ได้ภายใต้สภาวะแสงน้อย หรือในที่มืด ในกรณีเช่นนี้ ใช้ขาตั้งกล้องหรือยึดตัวกล้องกับแขนด้านข้าง จากนั้นค่อยกดปุ่มชัตเตอร์
14
ส่วนประกอบของกล้อง
ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลข หน้าในเครื่องหมายวงเล็บ
เฉพาะ DSC-H9
1 ปุ่ม POWER/ไฟ POWER 2 ปุ่มหมุนเลือกโหมด (26)
3 ปุ่มชัตเตอร์ (27) 4 ตัวจับสัญญาณรีโมท 5 แสงไฟช่วย AF (78)/ไฟตั้งเวลา (29)
6 เลนส์ 7 แฟลช (29) 8 ปุ่มหมุนปรับช่องมองภาพ
• ขณะท่านเลือกด้วยปุ่ม FINDER/LCD เพื่อ ถ่ายภาพโดยใช้กรอบค้นหา ให้ทำการปรับ กรอบค้นหาเพื่อให้สอดคล้องกับสายตาของ คุณ เพื่อให้ภาพปรากฏออกมาอย่างชัดเจน ที่กรอบค้นหา
9 ห่วงร้อยสายคล้องไหล่ q; ตัวเชื่อมต่อหลายจุด
ใช้สำหรับการเชื่อมต่อดังต่อไปนี้ :
เชื่อมต่อ USB ระหว่างตัวกล้องกับ เครื่องคอมพิวเตอร์
เชื่อมต่อสัญญาณเสียง/ภาพ บนหน้าจอทีวี
เชื่อมต่อกับเครื่องพิมพ์สำหรับ PictBridge
เฉพาะ DSC-H9
qa ปุ่ม /BRK (53) qs ปุ่ม (โหมดวัดแสง) (56) qd สวิตซ์ NIGHTSHOT
15
ส่วนประกอบของกล้อง
1 ช่องมองภาพ 2 ปุ่ม 3 ปุ่ม FINDER/LCD
4 หน้าจอ LCD (24)
เฉพาะ DSC-H9
5 ปุ่ม MENU (49) 6 ปุ่มควบคุม (ข้างใน)/แป้นหมุนเลือกโหมด
แสดงเมนู: v/V/b/B/ ไม่แสดงเมนู: DISP/
(เล่นภาพ) (43)
ท่านสามารถปรับองศาของแผง LCD เพื่อ
สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมถ่ายภาพต่างๆ
(ข้างนอก) (35)
z (49)
/ / (24, 29)
16
7 ปุ่ม HOME (47) 8 ไมโครโฟน 9 กรณีถ่ายภาพ: ปุ่มปรับซูม (W/T) (28)
กรณีดูภาพ: ปุ่ม /ปุ่ม
q; ช่องต่อ DC IN/ฝาปิดช่องต่อ DC IN
เมื่อใช้ตัวแปลงไฟ AC รุ่น AC-LS5K
(ไม่ได้ให้มาด้วย)
/ (ซูมภาพที่แสดง)
(ดัชนี) (43, 44)
1 ไปยังหัวต่อ DC IN
เครื่อง
หมาย
2 ไปยังเต้าเสียบติดผนัง
ถ้าหากท่านต่อตัวแปลงไฟ AC รุ่น AC-LS5K
ท่านจะไม่สามารถทำการชาร์จก้อนแบตเตอรี่ ให้ทำการชาร์จแบตเตอรี่ด้วยแท่นชาร์จ แบตเตอร
qa ห่วงร้อยสายคล้องไหล่ qs ลำโพง qd ก้อนแบตเตอรี่/“Memory Stick Duo” qf ช่องต่อขาตั้งกล้อง (ด้านล่าง)
ใช้ขาตั้งกล้องที่สกรูมีความยาวน้อยกว่า 5.5
มม. ท่านจะไม่สามารถยึดกล้องเข้า กับขาตั้งที่สกรูมีความยาวเกินกว่า 5.5 มม. ได้อย่างมั่นคง และอาจจะทำให้กล้อง เสียหายได้
qg ช่องใส่แบตเตอรี่ qh ตัวล็อคแบตเตอรี่ qj ช่องเสียบ “Memory Stick Duo” qk ไฟแสดงการทำงาน
ส่วนประกอบของกล้อง
รีโมทควบคุม
1 ตัวส่งสัญญาณ 2 ปุ่ม HOME (47) 3 SLIDE SHOW (62)
ท่านสามารถเพลิดเพลินกับสไลด์โชว์ ด้วย การกดปุ่มนี้
4 ปุ่ม MENU (49) 5 SHUTTER (27)
ไม่สามารถกดลงครึ่งหนึ่งได้
6 กรณีถ่ายภาพ: ปุ่มปรับซูม (W/T) (28)
กรณีดูภาพ: ปุ่ม / (ซูมภาพที่แสดง)
/ปุ่ม (ดัชนี) (43, 44)
ท่านไม่สามารถเร่งความเร็วการซูมได้
แม้จะกดปุ่มซูมบนรีโมตก็ตาม
7 ปุ่มควบคุม
แสดงเมนู: v/V/b/B/z (49) ไม่แสดงเมนู: DISP/ / / (24, 29)
หมายเหตุ
ดึงแผ่นป้องกันออกก่อนเริ่มใช้งานรีโมทควบคุม
แผ่นป้องกัน
เล็งรีโมทควบคุมไปที่ตัวจับสัญญาณรีโมทเพื่อ ควบคุมกล้องของท่าน (หน้า 15)
การเปลี่ยนแบตเตอรี่ของรีโมท ควบคุม
1 สอดเล็บเข้าไปในช่องพร้อมกับกดแถบเพื่อ
ดึงช่องใส่แบตเตอรี่ออกมา
2 ใส่แบตเตอรี่ก้อนใหม่โดยหงายด้าน + ขึ้น 3 ใส่ช่องใส่แบตเตอรี่กลับเข้าไปในรีโมท
ควบคุมจนคลิ้กเข้าท
ช่อง
• รีโมตได้ใช้แบตเตอรี่ลิเทียม (CR2025) ภายใน ห้ามใช้แบตเตอรี่อื่นๆ นอกเหนือจาก CR2025
17
ส่วนประกอบของกล้อง
หน้ากากกันแสง/ตัวแปลงเลนส์
1 หน้ากากกันแสง 2 ตัวแปลงเลนส์
การติดหน้ากากกันแสงหน้าเลนส์
เมื่อท่านถ่ายภาพภายใต้สภาพแสงที่สว่างมาก เช่น ในที่กลางแจ้ง ขอแนะนำให้ท่านใช้ หน้ากากกันแสงหน้าเลนส์เพื่อช่วยลดการ ด้อยลงของคุณภาพของภาพอันเนื่องมาจาก แสงที่ไม่จำเป็น
1 ติดวงแหวนอแด็ปเตอร์ ขณะไฟปิดอยู่
3 หมุนเลนส์ฮูดและวางตำแหน่งให้ตรงกัน
กับวงแหวนจนกระทั่งได้ยินเสียงคลิก ขณะ กำลังหมุนปรับ อย่าให้ตัวปรับวงแหวนหมุน
ท่านสามารถปิดฝาครอบเลนส์ขณะที่ติดหน้ากาก กันแสงหน้าเลนส์อยู่
เมื่อใช้หน้ากากกันแสงหน้าเลนส์ ให้ระวังกรณีต่อไปนี้
อาจกีดขวางแสงไฟช่วยโฟกัส
แสงอินฟราเรดของ Night shot อาจถูกบล็อก
ใช้งานไม่ได้ (เฉพาะ DSC-H9) อาจกีดขวางแสงไฟแฟลช ซึ่งจะทำให้เกิดเงามืด
ในกรณีที่ใช้ไฟแฟลชในตัว
– ตัวเซ็นเซอร์รีโมต อาจถูกบล็อกใช้งานไม่ได้
และตัวรีโมตอาจทำงานได้ไม่ถูกต้อง
2 หมุนปรับวงแหวนและวางตำแหน่งให้ตรง
กันกับของกล้อง ดังรูป
ตัวชี้ วงแหวนปรับ
ตำแหน่ง
18
ส่วนประกอบของกล้อง
การเก็บหน้ากากกันแสงหน้าเลนส์
ท่านสามารถติดหน้ากากกันแสงหน้าเลนส์กลับ ด้าน เพื่อเก็บติดไว้กับกล้องขณะที่ไม่ได้ใช้งาน จัดหน้ากากกันแสงหน้าเลนส์ในตำแหน่งที่ แสดงในภาพข้างล่างนี้ แล้วหมุนตามเข็ม นาฬิกาจนได้ยินเสียงคลิ้ก
การติดเลนส์เสริม (ไม่ได้ให้มาด้วย)
เมื่อท่านต้องการถ่ายภาพมุมกว้างพิเศษหรือดึง ภาพวัตถุที่อยู่ไกลเข้ามา ให้ทำการติดตั้งเลนส์ เสริม
1 ติดตั้งตัวแปลงเลนส์ 2 ติดตั้งเลนส์เสริม
ขณะถ่ายภาพโดยใช้เลนส์เสริม ให้ไปตั้งค่า [เลนส์เสริม] (หน้า 80)
ศึกษารายละเอียดได้จากหนังสือคู่มือที่ให้มากับ
เลนส์เสริมของท่าน
19
ตัวแสดงบนหน้าจอ
แต่ละครั้งที่ท่านกดปุ่ม v (DISP) จอแสดงจะเปลี่ยนไป (หน้า 24) ศึกษารายละเอียดการใช้งานได้จากเลข หน้าในเครื่องหมายวงเล็บ
เมื่อถ่ายภาพนิ่ง
เมื่อถ่ายภาพเคลื่อนไหว
1
จอภาพ ความหมาย
แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่
E
เตือนแบตเตอรี่หมด (125)
ขนาดภาพ (51)
ปุ่มหมุนเลือกโหมด/เมนู
(เลือกบรรยากาศ) (
31)
จอภาพ ความหมาย
โหมดวัดแสง (56)
อุณหภูมิสี (57)
โหมดถ่ายภาพ (53)
ค้นหาภาพใบหน้า (52)
SteadyShot (60)
เตือนมือสั่น
เตือนว่าความสั่นสะเทือนอาจ ทำให้ท่านไม่สามารถถ่ายภาพ ได้ชัดเจนเนื่องจากปริมาณแสง ไม่เพียงพอถึงแม้ว่าเครื่องหมาย เตือนมือสั่นจะปรากฏ ท่านก็ยัง สามารถถ่ายภาพได้ อย่างไรก็ตามขอแนะนำให้ท่าน เปิดฟังก์ชั่นป้องกันภาพเบลอ และใช้แฟลชเพื่อให้ได้สภาพ แสงที่ดีขึ้นหรือใช้ขาตั้งกล้อง หรือวิธีการอื่นเพื่อช่วยยึดกล้อง ให้มั่นคง (หน้า 9)
ตั้งเวลาบันทึกภาพ (29) ระดับการซูม (28, 79)
โหมดสี (55)
คอนทราสต์ (60) ความคมชัด (60)
20
P S A M
ปุ่มหมุนเลือกโหมด (26) Night Shot (34) (เฉพาะ
DSC-H9)
ตัวแสดงบนหน้าจอ
2
จอภาพ ความหมาย
z
พร้อม บันทึก
ISO400 ค่า ISO (39)
125 ความเร็วชัตเตอร์
F3.5 ค่าเปิดหน้ากล้อง
+2.0EV ค่าระดับแสง (40)
00:00:12 ระยะเวลาบันทึก
9
z SET
z OK
MOVE
MOVE
การล็อค AE/AF (27) เตรียมพร้อมภาพ
เคลื่อนไหวบันทึกภาพ เคลื่อนไหว
NR slow ชัตเตอร์
เมื่อความเร็วชัตเตอร์ต่ำ
กว่าปกติในที่มืด NR (ลด การรบกวน) ฟังก์ชั่น slow ชัตเตอร์ จะทำงานโดย อัตโนมัติเพื่อลดภาพเสีย
ตัวบอกกรอบค้นหาระยะ
AF (40)
ปรับโฟกัสด้วยมือ (42)
โฟกัส มาโคร (29)
ปุ่มแต่งปรับถ่ายภาพ
แถบแสดงการปรับโฟกัสด้วย มือ (42)
3
จอภาพ ความหมาย
96 จำนวนภาพที่ยังสามารถ
00:00:00 ระยะเวลาที่ยังสามารถ
REAR
สื่อบันทึก
โฟลเดอร์บันทึก (72)
ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำ
ภายใน
บันทึกได้
บันทึกได้ แสงไฟช่วยโฟกัส (78)
ลดตาแดง (59)
โหมดแฟลช (29)
กำลังชาร์จแฟลช
เลนส์เสริม (80) จังหวะของแฟลช (81)
4
จอภาพ ความหมาย C:32:00 แสดงการวิเคราะห์อัตโต
+
มัติ (125) ตั้งเวลาบันทึกภาพ (29)
จุดเล็งวัตถุ (56) กรอบค้นหาระยะ AF (40)
ฮิสโตแกรม (24)
21
ตัวแสดงบนหน้าจอ
เมื่อเล่นภาพนิ่ง
เมื่อเล่นภาพเคลื่อนไหว
1
จอภาพ ความหมาย
แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่
-
เสียง
ขนาดภาพ (51)
ป้องกัน (67) เสียง (43) เครื่องหมายสั่งพิมพ์
(DPOF) (111)
เชื่อมต่อ PictBridge (109)
ระดับการซูม (43)
เชื่อมต่อ PictBridge (110)
อย่าปลดสายเคเบิ้ล USB
ที่เชื่อมต่ออยู่ ขณะที่ไอ คอนปรากฏอยู่
2
จอภาพ ความหมาย
N
00:00:12 นับเวลา 101-0012 หมายเลขโฟลเดอร์–ไฟล์
2007 1 1
9:30 AM
z PLAY
z STOP
BACK/
NEXT
V VOLUME
ดูภาพ (43) แถบเล่นภาพ
(69)
วันที่/เวลา ขณะบันทึกของ ภาพที่แสดง
คำแนะนำระบบสำหรับการ เล่นภาพ
เลือกภาพ
ปรับเสียง ฮิสโตแกรม (24)
เมื่อจอฮิสโตแกรมถูกปิด
อยู่ รูป
ปรากฏ
22
ตัวแสดงบนหน้าจอ
3
จอภาพ ความหมาย
8/8 12/12 ลำดับภาพ/จำนวนภาพที่
โหมดวัดแสง (56)
C:32:00 แสดงการวิเคราะห์อัตโต
ISO400 ค่า ISO (39) +2.0EV ค่าระดับแสง (40) 500 ความเร็วชัตเตอร์ F3.5 ค่าเปิดหน้ากล้อง
สื่อสำหรับดูภาพ
โฟลเดอร์ดูภาพ (69)
ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำ ภายใน
ถูกบันทึกในโฟลเดอร์ที่ เลือก
เปลี่ยนโฟลเดอร์ (69)
ตัวแสดงนี้จะไม่ปรากฏ ขณะใช้งานหน่วยความจำ ภายใน
แฟลช
อุณหภูมิสี (57)
มัติ (125)
23
การเปลี่ยนการแสดงบนหน้าจอ
ถ้าท่านดูภาพในที่สว่างจ้า ให้ปรับความสว่างจอ LCD ให้สว่างขึ้น
อย่างไรก็ตามแบตเตอรี่อาจจะหมดลงอย่าง
รวดเร็ว ภายใต้เหตุการณ์แบบนี้
หน้าจอจะเปลี่ยนเป็นฮิสโตแกรม t
ปุ่ม v (DISP) (เปลี่ยนหน้าจอ
แสดงผล)
เมื่อท่านกดปุ่ม v (DISP) แต่ละครั้ง หน้าจอจะเปลี่ยนการแสดงผลดังต่อไปนี้
ความสว่างของแสง LCD สว่างขึ้น
ฮิสโตแกรมเปิด
ข้อมูลจะถูกแสดง ขณะเล่นภาพ
ตัวแสดงปิด t ตัวแสดงเปิด เมื่อเชื่อมต่อ เข้ากับทีวี (หน้า 85)
ฮิสโตแกรมจะไม่ปรากฏในโหมดดังต่อไปนี้ :
ขณะถ่ายภาพ
- ขณะแสดงรายการเมนู
- ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ขณะเล่นภาพ
- ขณะแสดงรายการเมนู
- โหมดดัชนี
- ขณะท่านใช้ซูมเล่นภาพ
- ขณะท่านหมุนภาพนิ่ง
- ระหว่างการรับชมภาพยนตร์
ความแตกต่างระหว่างตัวแสดงฮิลโตแกรม
ขณะถ่ายภาพและเล่นภาพ อาจเกิดขึ้นได้ ขณะที่ :
- ถ่ายภาพโดยใช้แฟลซ
- ความเร็วชัตเตอร์ช้าหรือเร็ว
ฮิสโตแกรมอาจจะไม่ปรากฏในกรณีที่ภาพถูก
บันทึกด้วยกล้องอื่น
z การปรับค่า EV (ระดับแสง)
ด้วยตัวแสดงฮิสโตแกรม
24
ปิดตัวแสดง
เปิดตัวแสดง
แสดงฮิสโตแกรม (หน้า 24)
A
B
มืด สว่าง
ฮิสโตแกรมเป็นกราฟที่แสดงความสว่าง ของภาพ ปรับปุ่มหมุนเลือกโหมดไปยังตั้ง ค่าอื่น และ กดปุ่ม v (DISP) หลายๆ ครั้ง เพื่อแสดงฮิสโตแกรมบนหน้าจอ ถ้า กราฟเอียงไปด้านขวาจะบ่งบอกถึงภาพที่ สว่าง ถ้ากราฟเอียงไปด้านซ้ายจะบ่งบอก ถึงภาพที่มืด
A จำนวนพิกเซล B ความสว่าง
ฮิสโตแกรมจะปรากฏได้ขณะเล่นภาพเดี่ยว แต่ท่านก็ไม่สามารถปรับระดับแสงได้
การใช้งานหน่วยความจำภายใน
กล้องนี้มีหน่วยความจำภายใน 31 MB หน่วยความจำนี้ไม่สามารถถอดออกได้ ถึงแม้ไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ไว้ในกล้อง ท่านยังสามารถทำการถ่ายภาพได้ โดยใช้หน่วยความจำภายในนี้
ภาพเคลื่อนไหวที่มีขนาด [640 (ละเอียด)] ไม่สามารถบันทึกได้ ขณะใช้หน่วยความจำภายใน
เมื่อใส่แผ่น “Memory Stick Duo”
[ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงใน “Memory Stick Duo”
B
หน่วยความจำ
B
หมายเหตุภาพที่ถูกบันทึกในหน่วยความจำภายใน
ขอแนะนำให้ท่านทำการคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลเสมอ ด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่งต่อไปนี้
การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยัง “Memory Stick Duo”
เตรียมแผ่น “Memory Stick Duo” ที่มีความจุอย่างน้อย 64 MB แล้วปฏิบัติตามขั้นตอนที่ อธิบายใน [คัดลอก] (หน้า 73)
ภายใน
[ดูภาพ]: เปิดดูภาพจาก “Memory Stick Duo” [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานได้หลายฟังก์ชั่นกับ
ภาพใน “Memory Stick Duo”
เมื่อไม่ได้ใส่แผ่น “Memory Stick Duo”
[ถ่ายภาพ]: ภาพจะถูกบันทึกลงในหน่วยความจำ ภายใน
[ดูภาพ]: เปิดดูภาพจากหน่วยความจำภายใน [เมนู ตั้งค่า ฯลฯ]: สามารถใช้งานหลายฟังก์ชั่นได้กับ
ภาพในหน่วยความจำภายใน
การคัดลอก (สำรอง) ข้อมูลไปยังฮาร์ดดิสก์บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของท่าน
ปฏิบัติตามขั้นตอนในหน้า 91 ถึงหน้า 93 โดยไม่ใส่แผ่น “Memory Stick Duo” ในกล้อง
ท่านไม่สามารถคัดลอกข้อมูลภาพจาก “Memory Stick Duo” เข้าสู่หน่วยความจำภายใน
เมื่อทำการเชื่อมต่อกล้องถ่ายภาพกับเครื่องคอมพิวเตอร์โดยใช้สายเคเบิ้ลเอนกประสงค์ ท่านสามารถคัด
ลอกข้อมูลที่บันทึกอยู่ในหน่วยความจำภายในไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ แต่ท่านไม่สามารถคัดลอกข้อมูล จากเครื่องคอมพิวเตอร์ไปยังหน่วยความจำภายในได้
25
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้ปุ่มหมุนเลือกโหมด
ตั้งปุ่มหมุนเลือกโหมดไปยังฟังก์ชั่นที่ต้องการ
ปุ่มหมุนเลือกโหมด
ปุ่มควบคุม
: โหมดตั้งค่าอัตโนมัติสำหรับภาพนิ่ง
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพได้อย่างง่ายดาย โดยกล้องทำการปรับค่าต่างๆ โดยอัตโนมัติ (หน้า 27)
P : โปรแกรมอัตโนมัติ*
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพโดยกล้องทำการปรับแสงโดยอัตโนมัติ (ทั้งความเร็วชัตเตอร์ และขนาดช่องรับแสง) (หน้า 36)
S : ถ่ายภาพโดยกำหนดความเร็วชัตเตอร์*
ให้ท่านทำการถ่ายภาพโดยปรับความเร็วชัตเตอร์ด้วยตัวท่านเอง (หน้า 37)
A : ถ่ายภาพโดยกำหนดค่าเปิดหน้ากล้อง*
ให้ท่านทำการถ่ายภาพโดยปรับค่าเปิดหน้ากล้องด้วยตัวท่านเอง (หน้า 38)
M : ถ่ายภาพโดยปรับระดับแสงด้วยตนเอง*
ให้ท่านทำการถ่ายภาพโดยปรับระดับแสงด้วยตัวท่านเอง (ทั้งความเร็วชัตเตอร์และ ค่าเปิดหน้ากล้อง) (หน้า 38)
: โหมดบันทึกภาพเคลื่อนไหว
ให้ท่านสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียง (หน้า 27)
/ / / / /SCN ( ): โหมดเลือกบรรยากาศ
ให้ท่านสามารถถ่ายภาพโดยใช้การตั้งค่าที่กำหนดไว้ก่อนแล้วสำหรับแต่ละซีนภาพ (หน้า 31)
* นอกจากนั้นท่านยังสามารถเลือกการตั้งค่ารูปแบบต่างๆ ได้ผ่านทางเมนู
(รายละเอียดของฟังก์ชั่นที่สามารถใช้งานได้
t หน้า 50)
26
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
ปุ่มหมุนเลือกโหมด
ช่องมองภาพ
ปุ่ม FINDER/LCD
ปุ่มซูม
ปุ่ม MENU
ปุ่ม HOME
ปุ่มชัตเตอร์
ปุ่มมาโคร
ปุ่มตั้งเวลาอัตโนมัติ
ปุ่ม z
ปุ่ม v/V/b/B
ปุ่มควบคุม
1 เลือกฟังก์ชันที่ต้องการจากปุ่มหมุนเลือกโหมด
ขณะถ่ายภาพนิ่ง (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ): เลือก ขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว: เลือก
2 จับกล้องให้มั่นคง โดยใช้แขนของท่านแนบกับลำตัว
วางตำแหน่งวัตถุให้อยู่ ตรงกึ่งกลางเฟรมโฟกัส
3 ถ่ายภาพด้วยปุ่มชัตเตอร์
ขณะถ่ายภาพนิ่ง:
1 กดปุ่มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึ่งเพื่อทำการโฟกัส
ตัวแสดง z (ล็อค AE/AF) (สีเขียว) จะกระพริบ จากนั้นมีเสียงบีปดังขึ้น ตัวแสดงหยุดกระ พริบและยังคงสว่างอยู่่
ปุ่ม DISP
ปุ่มแฟลซ
การใช้งานเบื้องต้น
27
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
2 กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด
ตัวแสดงการล็อค AE/AF
ถ่ายภาพเคลื่อนไหว:
กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุด เมื่อต้องการหยุดบันทึก ให้กดปุ่มชัตเตอร์ลงจนสุดอีกครั้ง
ในกรณีที่ถ่ายภาพวัตถุที่โฟกัสได้ยาก
• ระยะถ่ายภาพวัตถุใกล้ที่สุดคือ 50 ซม. (W)/120 ซม. (T) ควรใช้โหมดถ่ายภาพระยะใกล้ (มาโคร) เมื่อทำการถ่ายภาพวัตถุที่อยู่ใกล้กว่าระยะถ่ายภาพ (หน้า 29)
• ถ้าหากกล้องไม่สามารถทำการปรับโฟกัสได้โดยอัตโนมัติ ตัวแสดงการล็อค AE/AF จะกะพริบช้าลงและไม่ มีเสียงบีป อีกทั้งกรอบค้นหาระยะ AF จะหายไป ให้จัดภาพใหม่แล้วทำการโฟกัสอีกครั้งหนึ่ง
วัตถุที่ทำการโฟกัสได้ยาก ได้แก่
อยู่ห่างไกลจากกล้องและมืด ตัววัตถุไม่แตกต่างจากพื้นหลังอย่างเด่นชัด ถ่ายภาพผ่านกระจก วัตถุเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว มีแสงสะท้อนหรือผิวขัดเงาแวววาว แสงกะพริบ ย้อนแสง
การปรับซูม
W/T
กด T เพื่อซูม กด W เพื่อซูมออก กดปุ่มเบาๆสำหรับการซูมช้าๆ และกดปุ่มลงเต็มที่สำหรับการซูมเร็ว
• เมื่อปรับระดับการซูมสูงเกินกว่า 15× กล้องจะเริ่มใช้งานระบบซูมดิจิตอล ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการตั้ง ค่า [ซูมดิจิตอล] และคุณภาพของภาพ ดูหน้า 79
กล้องจะซูมช้าๆในระหว่างการถ่ายภาพเคลื่อนไหว แม้ว่าท่านจะกดปุ่มลงเต็มที่ก็ตาม
28
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
Flash (การเลือกโหมดแฟลชสำหรับภาพนิ่ง)
กด B ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ
(ไม่ปรากฏตัวแสดง): แฟลชอัตโนมัติ
ไฟแฟลชจะติดสว่างเอง เมื่อปริมาณแสงมีไม่เพียงพอ (ค่าเริ่มต้น)
: บังคับใช้ไฟแฟลช
: ชัตเตอร์ช้า (บังคับใช้ไฟแฟลช)
ชัตเตอร์จะทำงานช้าลงในที่มืดเพื่อให้ถ่ายภาพฉากหลังที่อยู่ไกลเกินกว่าระยะแฟลชได้ อย่างชัดเจน
: บังคับไม่ใช้แฟลช
ไฟแฟลชจะเปิดติดขึ้นมาอัตโนมัติ ปิดแฟลชด้วยมือหลังจากการใช้งาน
แฟลชจะติดสว่างสองครั้ง ครั้งแรกเพื่อใช้ปรับปริมาณแสงแฟลช
ขณะกำลังชาร์จแฟลช
จะปรากฏ
มาโคร (การถ่ายภาพระยะใกล้)
กดปุ่ม b ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ
(ไม่ปรากฏตัวแสดง): ไม่ใช้งานมาโคร
:
ใช้มาโคร (ด้าน W: ประมาณ 1 ซม. หรือไกลกว่า, ด้าน T: ประมาณ 120 ซม. หรือไกลกว่า)
มาโคร
ขอแนะนำให้ปรับซูมไว้ที่ตำแหน่งสุดขอบด้าน W
ช่วงระยะของวัตถุที่อยู่ในโฟกัสจะแคบลง ดังนั้นตัววัตถุอาจจะไม่อยู่ในโฟกัสทั้งหมด
ขณะถ่ายภาพระยะใกล้ ความเร็วในการปรับโฟกัสอัตโนมัติจะช้าลง
การตั้งเวลาบันทึกภาพ
กด V ( ) บนปุ่มควบคุมหลายๆ ครั้งเพื่อเลือกโหมดใช้งานที่ต้องการ
การใช้งานเบื้องต้น
(ไม่ปรากฏตัวแสดง): ไม่ใช้ระบบตั้งเวลา
: ใช้ระบบตั้งเวลา 10 วินาที : ใช้ระบบตั้งเวลา 2 วินาที
กดปุ่มชัตเตอร์ ไฟตั้งเวลาจะกะพริบและกล้องจะส่งเสียงบีปจนกระทั่งชัตเตอร์ทำงาน
29
ถ่ายภาพอย่างง่าย (โหมดตั้งค่าอัตโนมัติ)
ไฟตั้งเวลา
ทำการยกเลิกโดยกด V ( ) อีกครั้งหนึ่ง
ใช้ระบบตั้งเวลา 2 วินาทีเพื่อป้องกันภาพเบลอเนื่องจากกล้องถ่ายภาพสั่นเมื่อท่านกดปุ่มชัตเตอร์
การปรับมุมของหน้าจอ LCD
ท่านสามารถปรับมุมของหน้าจอ LCD
การใช้แรงเพื่อดันจอ LCD ให้เคลื่อนเกินกว่ามุมที่กำหนด อาจทำให้เกิดการชำรุดได้
30
Loading...
+ 107 hidden pages